Page 45 - สังคมมนุษย์
P. 45
การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมกับปัญหาสงั คม 13-35
เพอื่ นคู่ชิดมิตรคูใ่ จเปน็ คู่สร้างคสู่ ม มีความรกั ท่บี รสิ ทุ ธิ์ตอ่ กนั ซอ่ื สัตย์ต่อกันจรงิ ใจต่อกนั เข้าใจกนั และกนั
อาจมีเพื่อนตา่ งเพศคบกัน ดใู จกัน สงั เกตอปุ นิสยั ใจคอกนั และกนั กอ่ น และอยา่ ชิงสุกก่อนห่าม ถา้ จะใหด้ ี
กต็ อ้ งใหพ้ อ่ แมท่ ง้ั สองฝา่ ยรบั รเู้ หน็ ชอบดว้ ย จะไดม้ หี ลกั ประกนั หรอื มพี ยาน ชนดิ ทเ่ี ราเรยี กกนั วา่ เขา้ ตาม
ตรอก ออกตามประตูอย่าเข้าหลังบ้านออกทางหน้าต่าง ไม่ปลอดภัยแน่ จะต้องแน่ใจว่าเป็นความรักที่
บรสิ ทุ ธจิ์ รงิ ใจตอ่ กนั ใหม้ สี ตสิ มั ปชญั ญะ อยา่ ใหถ้ งึ ขน้ั มดื มน ดงั ทก่ี ลา่ วกนั วา่ “ความรกั เหมอื นโรคา บนั ดาล
ตาให้มิดมน” รักอย่างนี้มีเพื่อต่างเพศอย่างน้ีมีจุดหมายท่ีแน่ นอนเพ่ือจรรโลงชีวิตคู่หรือชีวิตครอบครัว
อยา่ งนี้ มจี ดุ หมายทแ่ี นน่ อน เพอื่ จรรโลงชวี ติ คหู่ รอื ครอบครวั อยา่ งนไี้ มม่ คี วามเสยี หาย สงั คมยอมรบั ปฏบิ ตั ิ
กนั อย่แู ลว้
พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในอดีตวิถีไทย คอื วถิ แี หง่ ธรรม เพราะธรรม คือแนวทางทส่ี อนให้มนษุ ยส์ ร้างดุลยภาพแห่งชีวติ
ระหว่างตน ชุมชนและธรรมชาติรอบตัวว่าควรจะด�ำเนินชีวิตให้สอดคล้องสมดุลอย่างไร ตามความเช่ือ
ตามวถิ ที างพระศาสนาของตนอยา่ งไร แต่ ณ ปจั จบุ นั นธี้ รรมนนั้ ไดผ้ นั แปรเปลยี่ นแปลงไปแลว้ เมอ่ื มนษุ ย์
หันหลังที่จะเข้าใจธรรมชาติอยู่กับธรรมชาติ อันเป็นแม่บทแห่งธรรมมากขึ้น แล้วมุ่งหน้าตักตวงท�ำลาย
ธรรมชาติอย่างตะกละตะกลาม เมื่อมากเข้านานเข้าก็ยากที่ธรรมชาติจะทานทนได้หรือเพียงพอกับความ
โลภ อนั ไรข้ ดี จำ� กดั ของมนษุ ย์ และยงิ่ เมอื่ วถิ ชี วี ติ มนษุ ยเ์ ดนิ ทางหา่ งไปจากธรรมชาติ หลงใหลในเทคโนโลยี
นำ� พาอตุ สาหกรรมเขา้ มาทำ� ลายสงิ่ แวดลอ้ ม ทำ� ลายดลุ ยภาพทเ่ี คยสอดประสานเปน็ วถิ ชี วี ติ ทกี่ ลมกลนื กบั
ธรรมชาติภยั แหง่ ผลพวงนนั้ กเ็ ริม่ ลกุ ลามดุลยภาพแหง่ ชีวิตน้ันจะขาดวิถแี หง่ ธรรมเสียมไิ ด้ เพราะธรรมคอื
กรอบคิดหลักท่ีวางกระบวนการด�ำเนินชีวิต วางความหมายแห่งคุณค่าให้เป็นไปอย่างสอดคล้องกับ
ธรรมชาติ อันสงบและเรียบง่าย เนื่องจากปัจจุบันป่าต้นน�้ำ ถูกท�ำลาย ถูกบุกรุกแผ้วถางมากมาย ซึ่ง
ทงั้ หมดล้วนมาจากผลกระทบของการพัฒนาอยา่ งไม่ยัง่ ยืน อันขัดกบั หลักปฏบิ ตั ติ ามวิถีชาวพทุ ธที่อยพู่ อ
เพียงและเคารพธรรมชาติ การพยายามดึงเอาสถาบันพระศาสนา ชุมชนและประชาคมเมืองให้มาสนใจ
รับรู้และศึกษาปัญหาส่ิงแวดล้อม ซ่ึงส่งผลกระทบโดยตรงกับสังคม ทั้งในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม
และอ่นื ๆ
การอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
การอนรุ กั ษ์ หมายถงึ การเกบ็ รกั ษา สงวน ซอ่ มแซม ปรบั ปรงุ และใชป้ ระโยชนต์ ามความตอ้ งการ
อยา่ งมเี หตผุ ลตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ เออ้ื อำ� นวยใหเ้ กดิ คณุ ภาพสงู สดุ ในการสนองความเปน็ อยขู่ องมนษุ ยอ์ ยา่ ง
ถาวรตอ่ ไป หลักการอนุรกั ษ์ การทจ่ี ะใหบ้ รรลุเปา้ หมาย คอื การทจ่ี ะท�ำให้มีทรพั ยากรธรรมชาตไิ วใ้ ชแ้ ละ
อย่คู ู่กบั โลกตลอดไปนัน้ มีหลกั การอนรุ กั ษ์ 7 ประการ คอื
1) ใช้อย่างฉลาด การจะใช้ต้องพิจารณาให้รอบคอบถึงผลดี ผลเสีย ความขาดแคลนหรือ
ความหายากในอนาคต อกี ทัง้ พจิ ารณาหลักเศรษฐศาสตร์ถึงต้นทนุ และผลตอบแทนอย่างอย่างครบถว้ น
2) ประหยดั (เกบ็ รกั ษา สงวน) ของทหี่ ายาก หมายถงึ ทรพั ยากรใดท่มี ีนอ้ ยหรือหายาก
ควรเกบ็ รักษาไวม้ ิให้สญู ไป บางคร้ังถ้ามขี องบางชนิดทพ่ี อจะใชไ้ ดต้ ้องใชอ้ ยา่ งประหยัด