Page 62 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 62
1-52 ส่ือ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.1 คล่นื วทิ ยุ (Radio wave)
คลื่นวิทยุ เป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnetic Wave: EMW) ที่สามารถเดินทางไปใน
อากาศได้ในระยะทางต่าง ๆ กันต้ังแต่ระยะทางสั้น ๆ เช่น ภายในส�ำนักงานไปจนถึงระยะทางไกล ๆ เช่น
ภายในประเทศและระหว่างประเทศ เป็นต้น ท้ังนี้ ระยะทางดังกล่าวข้ึนอยู่กับความถ่ี ก�ำลังส่งในการออก
อากาศ และสภาพแวดลอ้ ม คล่นื วิทยุสามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ในการส่อื สารไดม้ ากมาย โดยไดม้ กี ารกำ� หนด
ความถี่ในการใช้งานไว้เป็นย่านความถี่ต่าง ๆ ต้ังแต่ย่านความถ่ีต่�ำสุด (Very Low Frequency: VLF)
ไปจนถึงย่านความถ่ีสูงยิ่งยวด (Extremely High Frequency: EHF) แต่ละย่านความถ่ีจะมีประโยชน์
ในการใช้งานต่างกัน ตามรายละเอียดในตารางแจกแจงการใช้งานคล่ืนความถี่วิทยุ ดังตารางที่ 1.1
ภาพท่ี 1.21 แถบคลน่ื วทิ ยุ (Radio spectrum)
ทม่ี า: สารานุกรมออนไลน์บริเตนนิกา. (2013).
ตารางที่ 1.1 ตารางแจกแจงการใชง้ านคลื่นความถี่วิทยุ
ช่ือย่านความถ่ี ชื่อย่อ ความถี่และ ตัวอย่างการใช้งาน
ความยาวคลื่น
Very low VLF 3-30 kHz การสื่อสารใต้น�้ำ, avalanche beacons, การติดตามคล่ืนหัวใจ
frequency
100 km-10 km แบบไร้สาย, ธรณีฟิสิกส์
Low frequency LF 30-300 kHz วิทยุน�ำร่อง, สัญญาณเวลา, วิทยุ AM (คล่ืนยาว), RFID
10 km-1 km
Medium MF 300-3,000 kHz วิทยุ AM (คลื่นปานกลาง), วิทยุการบิน
frequency 1 km-100 m