Page 61 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 61

แนวคิดเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมทางการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 1-51

ดว้ ย เสน้ ใยแกว้ หรอื เสน้ ใยพลาสตกิ เปน็ จำ� นวนสบิ หรอื หลายรอ้ ยเสน้ ซงึ่ แตล่ ะเสน้ จะมขี นาดประมาณเทา่ กบั
เส้นผมของคน เส้นใยน�ำแสงแต่ละเส้นจะหุ้มด้วยวัสดุหุ้มเส้นใย ซ่ึงอาจจะเป็นพลาสติก แล้วหุ้มอีกชั้นหนึ่ง
ด้วยวัสดุที่ใช้ป้องกันสาย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุที่มีความแข็งแรงสูง เช่น เส้นใยเคฟลา (Kevlar) ซ่ึงเป็น
วัสดุท่ีใช้ในการท�ำเสื้อเกราะกันกระสุน แล้วจึงหุ้มด้วยปลอกหุ้มสายเป็นช้ันสุดท้าย เส้นใยน�ำแสงเป็น
สื่อสัญญาณที่มีคุณสมบัติดี กล่าวคือ

            -	 สามารถรับ-ส่งข้อมูลได้มากกว่าสายทองแดง
            -	 มีความเร็วในการรับ-ส่งสัญญาณสูง
            -	 ปลอดจากสัญญาณรบกวน เน่ืองจากใช้คล่ืนแสงเป็นตัวน�ำสัญญาณซึ่งไม่ถูกรบกวนด้วย
คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
            - 	มีขนาดเล็กและเบา

                             ภาพที่ 1.20 เสน้ ใยนำ� แสง (Optical fiber)

       ส�ำหรับกระบวนการสื่อสารด้วยเส้นใยน�ำแสงน้ัน จะต้องมีการแปลงสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง
ด้วยเลเซอร์ไดโอด (Laser diode) เสียก่อน แลว้ จึงส่งเข้าไปในเส้นใยน�ำแสง เม่ือถงึ ผรู้ ับอุปกรณร์ บั สัญญาณ
ก็จะท�ำการเปล่ียนคลื่นแสงให้กลับมาเป็นสัญญาณไฟฟ้าด้วยโฟโตไดโอด (Photo diode) อีกครั้งหนึ่ง

2. 	สอื่ สญั ญาณประเภทไร้สาย

       เนื่องจากข้อจ�ำกัดของส่ือสัญญาณแบบใช้สายก็คือจะต้องมีการติดต้ังสายเชื่อมต่อกันระหว่างผู้ส่ง
และผู้รับ จึงจะติดต่อสื่อสารกันได้ ดังน้ัน เม่ือมีความไม่สะดวก หรือไม่สามารถท่ีจะติดต้ังสายสัญญาณได้
จึงจ�ำเป็นที่จะต้องส่ือสารโดยใช้สื่อสัญญาณประเภทไร้สาย ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทคือ 1) คล่ืนวิทยุ
(Radio wave) 2) ไมโครเวฟ (Microwave) 3) ดาวเทียม (Satellite) และ 4) อินฟราเรด (Infrared) ถึงแม้
การสอื่ สญั ญาณแบบไรส้ ายจะสะดวกกวา่ การสอื่ สญั ญาณแบบมสี าย แตก่ ารสอ่ื สญั ญาณแบบไรส้ ายกม็ โี อกาส
ท่ีสัญญาณจะถูกรบกวนจากภายนอก เช่น สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศได้ง่ายกว่า
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66