Page 63 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 63
แนวคิดเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมทางการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 1-53
ตารางท่ี 1.1 (ตอ่ )
ช่ือย่านความถ่ี ช่ือย่อ ความถ่ีและ ตัวอย่างการใช้งาน
ความยาวคล่ืน
High frequency HF 3-30 MHz วิทยุคล่ืนส้ัน, วิทยุสมัครเล่น และการสื่อสารทางการบิน
100 m-10 m เหนือเส้นขอบฟ้า, RFID
Very high VHF 30-300 MHz วิทยุ FM, โทรทัศน์ (ช่อง 1-13), โทรศัพท์เคล่ือนที่
frequency 10 m-1 m วิทยุสมัครเล่น
Ultra high UHF 300-3,000 MHz โทรทศั น์ (ชอ่ ง 13-84), ไมโครเวฟ, โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท,ี่ wireless
frequency 1 m-100 mm LAN, บลูทูธ, GPS
Super high SHF 3-30 GHz ไมโครเวฟ, wireless LAN (Wi-Fi), เรดาร์
frequency 10 mm-1 mm
Extremely high EHF 3 0 - 3 0 0 G H z ดาราศาสตร์วิทยุ, high-speed microwave, การส่ือสารผ่าน
frequency 10 mm-1 mm ดาวเทียม
2.2 ไมโครเวฟ (Microwave)
ไมโครเวฟ เป็นการส่ือสารท่ีใช้ส่ือสัญญาณเป็นคล่ืนวิทยุที่มีความถ่ีในช่วง UHF ข้ึนไป โดยใช้วิธี
การส่งสัญญาณจากสถานีไมโครเวฟหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง ไมโครเวฟสามารถส่งสัญญาณได้ด้วยความ
เร็วสูง (สูงกว่าการใช้โมเด็มธรรมดาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ ถึง 4,500 เท่า) การสื่อสารด้วยระบบไมโครเวฟ
จะเป็นการส่ือสารการรับ-ส่งในแนวสายตา (Line of sight transmission) กล่าวคือ การส่งสัญญาณ
ไมโครเวฟจะส่งออกไปเป็นเส้นตรง และเนือ่ งจากเปน็ สญั ญาณความถสี่ ูงที่ไมส่ ามารถเดนิ ทางผ่านสง่ิ กดี ขวาง
ได้ ดงั นนั้ ในระหวา่ งสถานรี บั -สง่ จงึ ตอ้ งไมม่ อี ะไรมาขวางในเสน้ ทางของสญั ญาณ ดว้ ยสาเหตนุ จ้ี านไมโครเวฟ
จึงมักติดต้ังไว้ตามยอดตึกหรืออาคารสูง เพ่ือหลีกเลี่ยงส่ิงกีดขวาง หรือถ้าหากไม่มีอาคารสูง ๆ ก็มักจะสร้าง
เป็นเสาอากาศสูง ๆ แล้วติดจานไมโครเวฟบนยอดเสา
การสอ่ื สญั ญาณดว้ ยไมโครเวฟ นยิ มใชก้ บั กรณที กี่ ารตดิ ตง้ั สายนำ� สญั ญาณทำ� ไดย้ าก และไมส่ ะดวก
ส�ำหรับในกรณีท่ีสถานีรับ-ส่งสัญญาณไม่อยู่ในแนวสายตา ก็แก้ไขได้โดยการเพ่ิมสถานีถ่ายทอดสัญญาณ
(Relay station หรือ Repeater) เข้าไป โดยท่ีสถานีดังกล่าวอาจเป็นสถานีภาคพ้ืนดินหรือเป็นดาวเทียมก็ได้