Page 77 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 77
สื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนชีววิทยา 2-67
1.2 ขอ้ แนะน�ำในการจดั เรอื นเพาะชำ� มีดังนี้
1) เรือนเพาะช�ำต้องอยู่ไม่ไกลจากห้องปฏิบัติการที่ใช้พืชจากเรือนเพาะช�ำและเป็นบริเวณ
ท่ีได้รับแสงแดดอย่างเหมาะสม
2) วัสดุก่อสร้างเรือนเพาะช�ำควรท�ำด้วยไม้ อะลูมิเนียม หรือซีเมนต์และอาจใช้วัสดุประเภท
กระจกหรือพลาสติกเป็นส่วนประกอบ โดยออกแบบให้สามารถมองเห็นได้อย่างท่ัวถึง
3) บรรยากาศของเรือนเพาะช�ำมีความปลอดโปร่ง อากาศถ่ายเทได้ดี มีหน้าต่างและช่องให้
อากาศผ่านได้สะดวก และไม่ควรใช้เครื่องปรับอากาศ
4) อุปกรณ์ไฟฟ้า สายไฟ เต้ารับ ท่ีใช้ในเรือนเพาะช�ำต้องเป็นไปตามมาตรฐานท่ีก�ำหนด การ
ติดตั้งระบบไฟฟ้าต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัย โดยสามารถป้องกันนํ้าได้เป็นอย่างดี
5) ระบบนํ้าต้องมีการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ มีน้ําใช้ในทุกพ้ืนที่ของเรือนเพาะช�ำ โดยต้อง
ค�ำนึงถึงการใช้ประโยชน์ด้วยความประหยัด
6) ในกรณีที่มีการจัดระบบนิเวศจ�ำลอง การเพาะเล้ียงพืชหรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น ไฮดรา
อะมบี า พารามเี ซยี ม ทไ่ี มส่ ามารถแพรพ่ นั ธต์ุ ดิ ตอ่ สมู่ นษุ ย์ กส็ ามารถจดั ไวใ้ นอาคารเรยี นได้ แตต่ อ้ งระมดั ระวงั
การรบกวนจากสารเคมีที่ใช้ด้วย
เรือนเพาะชำ� ควรจดั ใหเ้ หมาะสมกับการใชป้ ระโยชนใ์ นการทดลองเพาะพันธพ์ุ ชื หรอื ปลกู พชื ประเภท
ต่าง ๆ เพ่ือใช้เป็นส่ือของจริงหรือของตัวอย่างให้ผู้เรียนได้ศึกษาในเรือนเพาะช�ำหรือเพื่อน�ำไปศึกษาในห้อง
ปฏิบัติการ
ภาพที่ 2.30 ตัวอย่างเรอื นเพาะชำ�
ท่ีมา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (สสวท.). 2546.