Page 21 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 21
หลกั การเขยี นบทวิทยุกระจายเสียง 6-11
เร่ืองท่ี 6.1.3
การน�ำวัตถุประสงค์ไปใช้ในการเขียนบท
โรเจอร์ แอล วอลเตอร์ ศาสตราจารยก์ ติ มิ ศกั ดทิ์ างการกระจายเสยี ง แหง่ มหาวทิ ยาลยั แคลฟิ อรเ์ นยี
(Professor Emeritus of Broadcasting) กลา่ ววา่ ความสำ� เร็จในการเขยี นบทประเมนิ ได้จากการทบี่ ท
ที่เขียนนั้นสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีก�ำหนดไว้ ดังนั้น ผู้เขียนบทจึงต้องเข้าใจอย่างชัดเจนว่าต้องการ
บรรลผุ ลอะไร อยา่ งไร (Walters, 1994, pp. 20, 22) และเมอื่ ลงมอื เขยี นบท ผเู้ ขยี นบทจงึ นำ� วตั ถปุ ระสงค์
นนั้ ๆ มาเปน็ กรอบก�ำหนดทศิ ทางและเปน็ กรอบก�ำกับในการเขยี นบท
วัตถุประสงค์ในการเขียนบทอาจก�ำหนดโดยอิงบทบาทหน้าท่ีของส่ือมวลชน หรือการก�ำหนด
วัตถุประสงค์โดยมุ่งหวังผลในระดับใดระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์การเขียนบทท่ีแตกต่างกัน
บทที่เขยี นกย็ ่อมแตกตา่ งกนั ไปด้วย ตัวอย่าง
การเขยี นบทโดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อ
1. บอกให้ผู้ฟังทราบเหตุการณ์ เรื่องราวท่ีเกิดขึ้นในชุมชนว่าเกิดอะไรข้ึนที่ไหน เมื่อใด และ
อยา่ งไร ลกั ษณะเชน่ นผ้ี เู้ ขยี นบทสามารถนำ� เสนอโดยใชก้ ารรายงานขา่ วใหผ้ ฟู้ งั ไดท้ ราบอยา่ งตรงไปตรงมา
2. เสนอแง่คิด มุมมองเกี่ยวกับเหตุการณ์ประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่เกิดขึ้นในชุมชน ผู้เขียนบท
อาจเลอื กใชก้ ารวเิ คราะห์ เพอื่ ใหผ้ ฟู้ งั ไดข้ อ้ มลู ความเหน็ ทล่ี กึ ซงึ้ มากกวา่ การนำ� เสนอดว้ ยการรายงานขา่ ว
ทใ่ี ห้เฉพาะข้อมลู ผิวเผนิ
3. ให้ผ้ฟู ังได้รับสาระเร่ืองใดเร่อื งหน่ึงจากแหล่งข้อมลู ปฐมภมู ิ (primary source) ซ่ึงจะมีความ
น่าเช่ือถือในด้านเนือ้ หาเปน็ อยา่ งยงิ่ กรณีเชน่ นค้ี วรนำ� เสนอด้วยการสัมภาษณ์
4. จงู ใจใหใ้ ชผ้ ลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ ชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ กรณเี ชน่ นก้ี ารนำ� เสนอดว้ ยสปอตจะมคี วามเหมาะสม
จากตัวอย่างท่ียกมาข้างต้นจะเห็นว่าหากวัตถุประสงค์ท่ีผู้เขียนบทต้องการแตกต่างกัน วิธีการ
น�ำเสนอรายการกจ็ ะแตกตา่ งกนั ไปดว้ ย
ผู้เขียนบทสามารถเลือกวิธนี ำ� เสนอรายการไดห้ ลากหลายรูปแบบ เชน่ พดู คยุ รายงาน สนทนา
สมั ภาษณ์ สารคดี นิตยสารทางอากาศ เพลง ละคร สปอต เปน็ ตน้
การน�ำเสนอรายการในแต่ละรูปแบบ ผู้เขียนบทจะต้องเข้าใจลักษณะของรูปแบบรายการแต่ละ
รปู แบบ จงึ จะสามารถเลอื กใชน้ ำ� เสนอเนอื้ หาใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี ำ� หนดไวไ้ ด้ (ศกึ ษารายละเอยี ดเกยี่ วกบั
รูปแบบรายการได้ในหน่วยท่ี 3) นอกจากน้ีผู้เขียนบทจะต้องเข้าใจเทคนิคในการเขียนบทเพ่ือให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ทีก่ ำ� หนดไว้ เช่น
1. การก�ำหนดวัตถุประสงคเ์ พื่อให้ข่าวสาร กรณที ก่ี ำ� หนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ชน่ น้ี เนอ้ื ความทป่ี รากฏ
ในบทจะต้องให้ข่าวสารกับผู้ฟังได้ชัดเจน ครบถ้วน สมบูรณ์ เช่น หากจะบอกผู้ฟังให้ทราบเร่ืองการเกิด
แผ่นดินไหวก็จะต้องมีเนื้อหาท่ีฟังแล้วรู้ว่าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวท่ีไหน เม่ือใดและมีผลต่อผู้ฟังอย่างไร
เป็นต้น