Page 26 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 26

6-16 การเขยี นบทวทิ ยกุ ระจายเสียง

เรื่องที่ 6.2.2
เข้าใจความต้องการของผู้ฟังเป้าหมาย

       ความเขา้ ใจกนั เปน็ บอ่ เกดิ ของความสมั พนั ธท์ ด่ี ี ดงั นนั้ ในการเขยี นบทผเู้ ขยี นบทนอกจากจะรอบรู้
ว่าผฟู้ งั เป็นใคร มีความคดิ ทศั นคติ ตลอดจนการดำ� เนนิ ชีวิตอย่างไรแล้ว ผูเ้ ขยี นบทยงั จำ� เปน็ ต้องเข้าใจ
ผูฟ้ งั ทเ่ี ป็นกลุ่มเปา้ หมายอกี ดว้ ย เพอื่ จะสามารถตอบสนองผฟู้ งั ได้

       สง่ิ ทผ่ี เู้ ขยี นบทตอ้ งเขา้ ใจผฟู้ งั ทเ่ี ปน็ กลมุ่ เปา้ หมาย คอื ความตอ้ งการของผฟู้ งั เพอ่ื ตอบสนองความ
พงึ พอใจของผฟู้ งั (audience gratifications) เพราะการนำ� เสนอสารทางสอื่ มวลชน ผรู้ บั สารจะเปน็ ผเู้ ลอื ก
การเขียนบทเพ่ือส่งสารไปยังผู้ฟังผ่านส่ือวิทยุกระจายเสียงก็เช่นกัน ผู้ฟังจะเป็นผู้เลือกท่ีจะฟังหรือไม่ฟัง
และปัจจยั ทสี่ ำ� คัญประการหน่งึ ในการเลอื กก็คือ ส่งิ ท่ีนำ� เสนอนน้ั น่าพงึ พอใจสำ� หรับผ้ฟู งั หรอื ไม่

       เร่ืองความพึงพอใจของผู้ฟังนี้ได้มีการศึกษาวิจัยมานาน ส�ำหรับวิทยุกระจายเสียงมีผู้สนใจหา
ค�ำตอบมาต้ังแต่ ค.ศ. 1940 เพื่อจะทราบว่า “ความพึงพอใจท่ีผู้ฟังแสวงหา และต้องการได้รับจาก
การฟังรายการ” คืออะไร ผลจากการส�ำรวจจากกลุ่มตัวอย่างท้ังในยุโรป สแกนดิเนเวีย และอเมริกา
ศาสตราจารย์เจย์ จี บลูมเลอร์ (Professor Jay G. Blumler) หนึ่งในผู้น�ำคณะวิจัยพบว่า สิ่งท่ีผู้ฟัง
ต้องการแสวงหาจากการเปิดรบั ส่อื วทิ ยกุ ระจายเสยี ง (Walters, 1994, p. 279) แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท
ใหญ่ๆ ได้แก่

       1.	 การรับรู้สภาวะแวดล้อมความเป็นไปในสังคม (cognitive orientation) ผ้ฟู ังต้องการขอ้ มูล
เกี่ยวกบั เหตุการณ์ ความเปน็ ไปในสังคม ท้งั ทเ่ี ป็นสงั คมใกล้ตัวและสังคมโลก ซง่ึ ความต้องการนีต้ อ่ มาได้
รบั การตอบสนองโดยถอื เปน็ กจิ กรรมหลกั ของสอื่ มวลชนทจ่ี ะตอ้ งเฝา้ มองสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปน็ อยแู่ ละสง่ิ ที่
เกดิ ข้นึ ในสังคมเพือ่ รายงานใหผ้ ู้ฟังทราบ ทเี่ รียกว่า “surveillance”

       2.	 ความเพลิดเพลิน (diversion) หลังจากการท�ำงาน ปฏิบัติภารกิจประจ�ำวันในแต่ละวันแล้ว
ผู้ฟังต้องการความเพลิดเพลินในการฟังรายการ เพื่อปลดปล่อยอารมณ์ในรูปแบบของการน�ำเสนอเพลง
การพดู คยุ ละครเบาสมอง การแข่งขันตอบค�ำถาม

       3.	 การน�ำข้อมูลข่าวสารจากการฟังรายการ ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ในสถานการณต์ ่างๆ การใช้
เพ่ือเสริมบุคลกิ ภาพ (personal identity) เชน่ การรบั รู้ขา่ วสารแล้วน�ำไปวิเคราะห์ใชพ้ ดู คยุ แลกเปล่ยี น
ในวงสนทนาทำ� ให้เกิดภาพลักษณท์ ่ดี ตี ่อตนเอง เปน็ ต้น

       การตอบสนองความต้องการทั้ง 3 ประเภทข้างต้นนี้มีหลายปัจจัยที่ผู้เขียนบทควรค�ำนึงถึงใน
การเขยี นบท คือ

       1)	 ความเร้าใจ
       2)	 ความเคลื่อนไหว ไมห่ ยุดนง่ิ
       3)	 การใช้เสนห่ ์ดึงดดู ทางเพศ
       4)	 ความเบาสมอง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31