Page 28 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 28

6-18 การเขียนบทวิทยกุ ระจายเสียง
       5)	 การให้ข้อมูล (information) เป็นอีกองค์ประกอบที่ดึงดูดผู้ฟัง ค�ำว่าข้อมูลในที่นี้มีสองนัย

คอื ข่าวสารข้อมูลท่ีสื่อมวลชนท�ำหน้าท่ีเป็นผู้สอดส่องดูแลสภาพแวดล้อม ความเป็นไปในสังคมและน�ำ
เสนอสผู่ ฟู้ งั ซง่ึ จะทำ� ใหผ้ ฟู้ งั เปน็ ผทู้ ที่ นั ตอ่ เหตกุ ารณ์ ตลอดจนขอ้ มลู ขา่ วสารทนี่ ำ� เสนอผา่ นรายการประเภท
รายการบริการสาธารณะ เช่น การประกาศเก่ียวกับการดับไฟฟ้าในบางช่วงเวลา ซ่ึงจะท�ำให้ผู้ฟังทราบ
ลว่ งหน้าและมโี อกาสเตรยี มตัว เปน็ ต้น

       นอกจากนี้ ข้อมลู อีกนัยหน่ึงหมายถงึ ข้อมูลที่ได้จากการฟังรายการ เชน่ ฟังละครแลว้ นำ� ขอ้ มูล
วิธีการแก้ปญั หาทต่ี ัวละครใช้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง เปน็ ตน้

       6)	 ความส�ำคัญ (importance) พจิ ารณาได้หลายลักษณะ ได้แก่
            6.1)	 ความส�ำคัญในเน้ือหาท่ีน�ำเสนอ ไม่ว่าจะเป็นการน�ำเสนอข่าวหรือบริการสาธารณะ

หากเรื่องที่น�ำเสนอมีความส�ำคัญต่อผู้ฟังในทางใดทางหน่ึง มีผลกระทบต่อผู้ฟังหรือเป็นผลประโยชน์ต่อ
ผูฟ้ งั มกั จะได้รบั ความสนใจและพึงพอใจจากผู้ฟังที่จะเปดิ รบั สารนน้ั ๆ เชน่ การได้ทราบล่วงหน้าว่านา้ํ มนั
จะข้ึนราคา ท�ำให้สามารถเตรียมการได้ก่อน การเปิดให้เกษตรกรไปแจ้งความจ�ำนงขอความช่วยเหลือ
รับพันธ์ุพืชฟรีจากหนว่ ยงานของรฐั เปน็ ต้น

            6.2)	 ความส�ำคัญของผู้ท่ีปรากฏตัว หากเป็นรายการข่าว สัมภาษณ์ โดยผู้ให้สัมภาษณ์
หรอื ใหข้ า่ วเปน็ ผทู้ ม่ี อี ำ� นาจ และรบั ผดิ ชอบ (authority) ตอ่ เรอ่ื งนนั้ ๆ โดยตรงจะไดร้ บั ความสนใจ ตดิ ตาม
และเชอื่ ถอื มากกวา่ การใหผ้ แู้ ทนมาใหข้ า่ ว เปน็ ตน้ นอกจากนี้ การนำ� ดาราหรอื ผทู้ เี่ ปน็ ทร่ี จู้ กั มาปรากฏตวั
ในรายการก็เป็นวิธีหน่ึงท่ีสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ฟัง กรณีเช่นนี้ในงานโทรทัศน์จะเห็นตัวอย่างชัดเจน
มาก เช่น การนำ� นางสาวไทยมาอ่านข่าว การใชด้ าราเปน็ ผูน้ ำ� เสนอ (presenter) สินค้าหรอื การนำ� ดารา
มาเป็นพิธกี ร เปน็ ต้น

       7)	 ความมีคุณค่า (value) เมอ่ื เปดิ รบั สารแลว้ เกดิ ความพงึ พอใจ เพราะมคี วามรสู้ กึ มคี วามคดิ วา่
สารนั้นมีคุณค่า ดังน้ัน เร่ืองความมีคุณค่าจึงเป็นเร่ืองที่เช่ือมโยงกับอารมณ์และจิตใจ เช่น การถ่ายทอด
พระราชพธิ เี สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทางชลมารค เมอ่ื ฟงั รายการแลว้ เกดิ ความรสู้ กึ ภาคภมู ใิ จในความเปน็ คนไทย
รู้สึกว่าวัฒนธรรมไทยงดงามน่าที่จะช่วยกันรักษาไว้หรือการได้ฟังละครอิงประวัติศาสตร์ ฟังแล้วเกิด
ความซาบซ้งึ มองเหน็ คณุ คา่ ของแผน่ ดนิ ไทย ความเปน็ ไทย เป็นตน้

       8)	 ความมีส่วนร่วมระหว่างผู้ฟังกับเน้ือหารายการ (participation between audience and
program content) ในลกั ษณะต่างๆ กนั เช่น

            8.1)	 ความมีส่วนร่วมของแต่ละบุคคล เป็นความพึงพอใจที่เกิดขึ้นเฉพาะบุคคล เช่น
ขณะทน่ี งั่ ฟงั ละครอยดู่ ว้ ยกนั หลายคน เมอื่ ฟงั ฉากหนง่ึ ของละครวทิ ยแุ ลว้ คนหนงึ่ อาจจะบอกวา่ “ฉนั เขา้ ใจ
ความรู้สกึ แบบนน้ั ฉันเคยผ่านเหตกุ ารณแ์ บบน้ันมาแล้ว” เป็นต้น หรือเมือ่ ฟงั รายการวทิ ยพุ ดู ถงึ สถานท่ี
ท่องเที่ยวที่เคยไปเท่ียวแล้วก็จะฟังเพื่อร�ำลึก นึกย้อนถึงเหตุการณ์ครั้งนั้นหรือลักษณะการมีส่วนรวม
โดยตรงกบั รายการ เช่น การเปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟงั โทรศพั ท์เข้าไปในรายการ เป็นต้น

            8.2)	 ความมีส่วนร่วมโดยการสร้างจิตนาการ เป็นความพึงพอใจท่ีเกิดขึ้นบนสิ่งที่อาจจะ
ไม่ใชค่ วามเป็นจรงิ แต่เปน็ ความเพ้อฝนั ซง่ึ งานโฆษณาน�ำแนวคิดลักษณะเชน่ นม้ี าใช้ เชน่ โฆษณาเครือ่ ง
สำ� อางท่ใี ชแ้ ลว้ ผวิ จะขาวใส สวยจับตา ทั้งๆ ท่คี วามเป็นจริงเปน็ ไปได้ยากแต่ผคู้ นก็มักพึงพอใจไปซ้ือหา
เครอื่ งส�ำอางชนิดน้นั ๆ มาใชเ้ พอื่ หวงั ใหผ้ วิ ขาวใสบา้ ง เปน็ ต้น
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33