Page 35 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 35

หลักการเขียนบทวทิ ยุกระจายเสยี ง 6-25
       แต่ในกรณที ี่รายการท่ีผลติ เปน็ ชดุ รายการท่มี ีหลายๆ ตอน ส่วนใหญ่ผู้ฟงั รายการมักจะใช้วธิ กี าร
ประเมินจากรายการครั้งท่ีแล้ว หากรายการครั้งที่แล้วถูกใจเม่ือมาฟังรายการครั้งน้ีก็จะลองฟังรายการ
สักช่วงหนึง่ หากไม่ถกู ใจจริงๆ จงึ จะเลกิ ฟงั
       ดงั นนั้ ผเู้ ขียนบทจงึ ตอ้ งใชค้ วามพยายามในการเก่ยี วผู้ฟงั ไว้ใหไ้ ด้ในชว่ งการเปิดรายการ
       2.	 การแนะน�ำรายการสู่ผู้ฟัง เป็นอีกสิ่งหนึ่งท่ีผู้เขียนบทจะต้องด�ำเนินการในส่วนเปิดรายการ
เพราะผู้ฟังท่ีเปิดฟังรายการจะได้แน่ใจได้ว่าเป็นรายการท่ีต้องการฟังเม่ือได้ยินการยืนยันจากการแนะน�ำ
รายการ โดยจะบอกใหท้ ราบชื่อรายการ สถานที กี่ ระจายเสยี ง ชือ่ ผูด้ �ำเนินรายการ ตลอดจนแขกรบั เชญิ
ของรายการ (กรณที ่ีมี) เป็นต้น
       นอกจากบทบาทหน้าท่ีหลักท่ีขาดไม่ได้ 2 ประการ ได้แก่ การดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง และ
การแนะน�ำรายการสูผ่ ฟู้ ังแล้ว ในส่วนเปิดรายการอาจน�ำเสนอข้อมลู ทีเ่ ป็นประโยชนอ์ น่ื ๆ ส่ผู ู้ฟงั ดังน้ี
       1)	 การสื่อให้ทราบอารมณ์รายการ ในชว่ งเปดิ รายการนผี้ เู้ ขยี นบทจะสอ่ื สารใหผ้ ฟู้ งั ทราบอารมณ์
และบรรยากาศโดยรวมของรายการ เช่น รายการจะเป็นรายการสบายๆ แจม่ ใส สนุกสนาน หรอื ค่อนขา้ ง
เปน็ ทางการ เปน็ ตน้
       2)	 การอธิบายข้อมูลบางประการ ส�ำหรับรายการท่ีออกอากาศต่อเน่ืองเป็นประจ�ำ  ผู้ฟังอาจ
คนุ้ เคยและไมต่ อ้ งเสยี เวลากบั การอธบิ ายอะไรอกี แตส่ ำ� หรบั รายการทเ่ี พง่ิ จะเปดิ ตวั เปน็ รายการใหม่ หรอื
รายการเก่าแต่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ หรือเป็นรายการที่จัดเสนอในวาระโอกาสพิเศษ เหล่าน้ีอาจจะมี
คำ� อธิบาย เช่น ทม่ี าของรายการ หรอื วตั ถุประสงค์ของรายการ หรอื กฎกติกาการเลน่ เกมในรายการ หรือ
วิธีการทจ่ี ะเปิดโอกาสให้ผฟู้ งั เข้ามามีสว่ นรว่ มในรายการ เป็นต้น
       3)	 การเตรียมช่วงเวลาส�ำหรับการประกาศ การประกาศหรอื สปอตโฆษณาทอ่ี าจมใี นรายการใน
ช่วงเปิดรายการ

รูปแบบส่วนเปิดรายการ

       สว่ นเปิดรายการ (types of openings) มแี นวทางการเขียนบทส่วนดงั กล่าวได้ดังน้ี
       1.	 การเปิดรายการโดยใช้สัญลักษณ์ประจ�ำรายการ การเปดิ รายการลักษณะน้เี ป็นแนวทางที่ใช้
กันมาต้ังแต่ยุคแรกๆ ในการจัดรายการวิทยุ สมัยท่ีผู้ฟังรายการยังใช้การหมุนหาคลื่นความถ่ีของสถานี
วทิ ยกุ ระจายเสียง ซ่งึ บางครัง้ กย็ ากท่ีจะหาคลืน่ ของสถานีทีอ่ อกอากาศรายการทีต่ ้องการ ต่างจากในยคุ ท่ี
เครือ่ งรบั วทิ ยพุ ฒั นามาเป็นการกดปมุ่ เลอื กสถานีและยังสามารถตง้ั ปุ่มที่เปน็ “สถานีโปรด” ทำ� ใหเ้ ปิดฟงั
รายการที่ตอ้ งการไดส้ ะดวกง่ายดาย
       ดังนน้ั ในยุคแรกๆ ผู้เขยี นบทจึงจำ� เป็นต้องใช้สญั ลักษณแ์ นะนำ� รายการใหช้ ดั เจน เพ่ือผูฟ้ งั จะได้
ทราบทนั ทวี า่ เปน็ รายการทกี่ ำ� ลงั ตอ้ งการฟงั โดยสญั ลกั ษณท์ ใ่ี ชป้ ระจำ� รายการอาจเปน็ ดนตรี เพลง (music)
เป็นเสียงประกอบ (sound effect) หรอื เป็นเสียงพดู (voice) จงิ เกิล้ (jingle) ท่ีเหมอื นเดมิ เช่น การใช้
เพลงประจ�ำรายการเพลงเดมิ ทเ่ี ปดิ เปน็ ประจ�ำเมอื่ เรม่ิ ตน้ รายการ เพราะฉะนน้ั ผฟู้ งั กจ็ ะคนุ้ เคยกบั เพลงนน้ั
ทเ่ี รยี กวา่ เปน็ เพลงประจำ� รายการหรอื “signature tune” เมอื่ ไดย้ นิ เสยี งเพลงกจ็ ะทราบทนั ทวี า่ ใชร่ ายการ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40