Page 39 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 39
หลกั การเขยี นบทวทิ ยุกระจายเสียง 6-29
noise) นน่ั คอื เปน็ การฟงั รายการโดยรายการนน้ั ๆ ไมใ่ ชส่ ารหลกั ทผี่ ฟู้ งั เปดิ รบั แตอ่ าจจะเปน็ การฟงั ขณะ
ทีท่ �ำกจิ กรรมอน่ื ๆ ไปดว้ ย เช่น อ่านนิตยสาร คยุ กบั ผู้คนรอบขา้ ง เป็นตน้
การรับรู้ของผู้ฟังรายการ ลักษณะการตอบสนองต่อการฟังรายการ
เนื้อหาส�ำคญั ฟงั รายการ
ส�ำหรับผฟู้ งั อย่างตง้ั ใจ
เน้ือหาไมส่ �ำคัญ ฟังโดยมรี ายการ
ส�ำหรับผฟู้ งั เปน็ เสียงพืน้ หลัง
เปลย่ี นสถานฯี หรือ
ปิดเคร่ืองรับวทิ ยุ
ภาพที่ 6.4 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ของผู้ฟังกับความใส่ใจในการฟังรายการ
2. ช่วงความสนใจติดตามฟัง (attention span) นอกจากปริมาณความสนใจในการติดตามฟัง
รายการของผฟู้ งั จะแปรเปลยี่ นไมค่ งทแี่ ลว้ ชว่ งความสนใจตดิ ตามฟงั รายการของแตล่ ะบคุ คลยงั แตกตา่ งกนั
อีกด้วย ไม่มีสิ่งเร้า (stimulus) ใดสามารถตรึงผู้รับสารได้ยาวนาน เม่ือเวลาผ่านไปสักระยะก็จะมีส่ิงเร้า
อืน่ มาดึงความสนใจไป (Walters, 1994, p. 122) ดังนน้ั การเขียนบทรายการวิทยจุ งึ ต้องตรงึ ผูฟ้ งั ให้กลับ
มาอยู่กบั การฟังรายการเป็นระยะๆ ทเ่ี รียกวา่ รีแคปเจอร์ (recapture) ทั้งนี้ชว่ งเวลาความสนใจของผู้ฟงั
มปี จั จัยเก่ยี วข้อง ไดแ้ ก่
2.1 ความมีคุณค่า น่าสนใจของเน้ือหาต่อบุคคล ซ่งึ จะแตกต่างกันไปในแตล่ ะบุคคล เชน่
บุคคลคนหน่ึงสนใจข่าวสารการเมืองแต่ไม่สนใจฟังเพลงเพราะมีความคิดว่าไร้สาระ ก็จะฟังข่าวได้ครั้งละ
นานมากกว่าการฟังเพลง เปน็ ตน้
2.2 จ�ำนวนคู่แข่งขันหรือสิ่งเร้าในขณะนั้น เปน็ ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความสนใจตดิ ตามฟงั หาก
มจี ำ� นวนมาก เชน่ มจี ำ� นวนสถานใี หเ้ ลอื กฟงั ไดม้ าก ผฟู้ งั เมอื่ ฟงั แลว้ ไมช่ อบใจกส็ ามารถเปลยี่ นไปฟงั สถานี
ทช่ี อบได้ เป็นตน้
2.3 ความยากง่ายของสารท่ีน�ำเสนอต่อผู้ฟัง หากสารท่ีน�ำเสนอง่ายต่อการรับรู้ของผู้ฟัง
ผฟู้ งั สามารถฟงั ไดส้ บายๆ ไมต่ อ้ งหงดุ หงดิ ใจเพราะมศี พั ทเ์ ทคนคิ มากมายจนฟงั ไมร่ เู้ รอื่ ง ผฟู้ งั จะมแี นวโนม้
ทีจ่ ะติดตามฟังมากกวา่ หากสารย่งิ ยากและซบั ซ้อนช่วงความสนใจของผู้ฟังจะยงิ่ สน้ั ลง