Page 41 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 41

หลกั การเขยี นบทวทิ ยุกระจายเสยี ง 6-31
                3)	 จังหวะ (pacing) จงั หวะไม่ได้หมายถึงอตั ราความเร็ว (speed) แตเ่ ป็นเรื่องของ
อารมณ์ ความรู้สึกของผู้ฟังที่เกิดความประทับใจในความ “พอดี” ไม่ใช่รายการที่รีบๆ น�ำเสนอหรือ
ลากยาวจนน่าเบื่อ ทัง้ นอี้ าจมีแนวทางคอื

                     •	 หลีกเล่ียงการใช้ผู้น�ำเสนอ วิทยากรที่มีลักษณะการพูดเนิบนาบ ช้าๆ หาก
เป็นวิทยากรและจ�ำเป็นต้องเชิญมาร่วมรายการ ให้ใช้วิธีก�ำหนดเวลาช่วงดังกล่าวให้ส้ันเข้า ผู้ฟังจะได้
ท้งั สาระและยังไม่ทนั เบื่อหน่าย

                     •	 พยายามหาผนู้ �ำเสนอรายการที่พดู จากระฉบั กระเฉง มีชีวติ ชีวา
                     •	 หลกี เลย่ี ง การน�ำเทปสัมภาษณ์ หรอื คำ� อธบิ ายทีอ่ ้อมคอ้ ม ยาวเกนิ กวา่ เหตุ
หรอื การน�ำดนตรีมาใชเ้ พอ่ื ยืดเวลาของรายการ เพราะจะทำ� ใหร้ ายการไม่กระชับ
                4)	 จุดไคลแมกซ์ (climax) ค�ำว่า “จุดไคลแมกซ์” เป็นที่รู้จักและคุ้นเคยกันดีใน
รายการ รูปแบบละคร ซ่ึงผู้เขียนบทจะก�ำหนดเน้ือหาโดยมีจุดส�ำคัญหรือไคลแมกซ์ของเร่ืองที่เร้าใจและ
ชวนให้ผู้ฟังตดิ ตามฟงั
                สำ� หรบั รายการรปู แบบอน่ื ๆ แนวคดิ ในการสรา้ งไคลแมกซก์ ม็ เี ชน่ กนั เพอื่ เปน็ การดงึ
ความสนใจของผฟู้ งั ใหต้ ดิ ตามพฒั นาการของเนอื้ หารายการทผี่ เู้ ขยี นบทนำ� เสนอ เชน่ ในรายการการแขง่ ขนั
รายการเกมโชว์ รายการควสิ (quiz program) มกั จะมรี างวลั ใหญอ่ ยชู่ ว่ งทา้ ยรายการใหผ้ ชู้ ม (กรณรี ายการ
โทรทัศน์) หรือผู้ฟังติดตามรายการและรออย่างใจจดจ่อว่าใครจะเป็นผู้ได้รับรางวัลใหญ่ เป็นต้น หรือใน
รายการรูปแบบสัมภาษณ์ ค�ำถามที่เป็นค�ำถามส�ำคัญมักจะก�ำหนดไว้ในช่วงท้ายของการสัมภาษณ์ หลัง
จากท่ีผู้ฟังได้ฟังค�ำถามปูพ้ืน ตลอดจนเร่ืองราวประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจากน้ันจึงมาถึงค�ำถามที่ทุกคน
ตอ้ งการทราบ เปน็ ไคลแมกซข์ องรายการ ทท่ี ำ� ใหเ้ มอ่ื ฟงั จบแลว้ ผฟู้ งั เกดิ ความกระจา่ ง เกดิ ความรสู้ กึ จดจำ�  
และอาจประทบั ใจจนตอ้ งกลบั มาติดตามการสมั ภาษณใ์ นเรื่องอน่ื ๆ ต่อไป
                อย่างไรก็ตามรายการข่าวจะเป็นกรณียกเว้น เพราะผู้ฟังอาจไม่สามารถทนรอฟังจน
จบรายการเพื่อจะทราบว่าอะไรเป็นข่าวหรือเหตุการณ์ส�ำคัญที่เกิดขึ้นได้ แต่ผู้เขียนบทมักจะปิดรายการ
ด้วยเรื่องท่ีตอบสนองความสนใจของปุถุชน (human interest) เป็นการดึงให้ผู้ฟังติดตามฟังรายการจน
จบนั่นเอง

สรุป

       บทสว่ นเนอ้ื หารายการ ทำ� หนา้ ทใ่ี หร้ ายละเอยี ดแกผ่ ฟู้ งั ซง่ึ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความครบถว้ น สอดคลอ้ ง
กับวตั ถุประสงค์ และเหมาะสมกบั ความยาวในการนำ� เสนอ นอกจากนน้ั บทสว่ นเนอ้ื หารายการยังมหี นา้ ที่
ในการจบั และตรงึ ความสนใจของผฟู้ งั ไวใ้ หไ้ ดต้ ลอดรายการ ผเู้ ขยี นบทจงึ ตอ้ งเขา้ ใจธรรมชาตเิ กยี่ วกบั ความ
สนใจติดตามฟงั ของผูฟ้ งั ท้ังเรื่องปรมิ าณความสนใจติดตามฟัง และชว่ งความสนใจตดิ ตามฟงั ของผูฟ้ งั

       สำ� หรบั การเขยี นบทส่วนเนื้อหารายการนัน้ ผู้เขยี นบทควรค�ำนงึ ถึง
       1. 	ความเปน็ เอกภาพ ซึง่ เกดิ จากทุกๆ สว่ นท่ีประกอบกนั เปน็ รายการ
       2. 	ความหลากหลาย ด้วยเน้ือหา รูปแบบการน�ำเสนอ ผูน้ �ำเสนอรายการ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46