Page 42 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง
P. 42
6-32 การเขียนบทวิทยกุ ระจายเสยี ง
3. จังหวะในการนำ� เสนอรายการ
4. จุดไคลแมกซ์ของบท
กิจกรรม 6.3.2
ลักษณะการเขียนบทอยา่ งมเี อกภาพเป็นอยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 6.3.2
การเขียนบทอย่างมีเอกภาพเป็นการเขียนบทที่ไปในทิศทางเดียวกัน ไม่นอกเรื่อง นอกประเด็น
ซงึ่ อาจกอ่ ให้เกดิ ความสบั สนแกผ่ ู้ฟัง และไมเ่ พลิดเพลินในการติดตามฟงั
เรื่องที่ 6.3.3
การเขียนบทส่วนปิดรายการ
การเขยี นบท หลงั จากเชญิ ชวนใหฟ้ งั รายการในชว่ งเปดิ รายการ ขยายรายละเอยี ดใหท้ ราบในชว่ ง
เนือ้ หารายการแลว้ มาถงึ ช่วงปดิ รายการ ถอื เป็นสว่ นสดุ ทา้ ยทจ่ี ะสื่อสารกับผู้ฟงั ส�ำหรบั รายการครัง้ นนั้ ๆ
ซึ่งมีความส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปจากสองช่วงของรายการที่ได้กล่าวแล้วในเรื่องท่ี 6.3.1 และเรื่องท่ี 6.3.2
เพราะการผลติ รายการมไิ ดผ้ ลติ และออกอากาศครง้ั เดยี วแลว้ เลกิ แตจ่ ะผลติ ตอ่ เนอ่ื งไป การเขยี นบทกต็ อ้ ง
ต่อเน่ืองไปด้วยเช่นกัน ดังน้ันแม้จะปิดรายการในคร้ังน้ี แต่ผู้เขียนบทยังจ�ำเป็นต้องฝากรายการให้อยู่ใน
ความสนใจของผฟู้ งั เพอ่ื ตดิ ตามฟงั ตอ่ ในครง้ั ตอ่ ๆ ไป ดงั นนั้ สว่ นปดิ รายการจงึ มคี วามสำ� คญั ทจ่ี ะทง้ิ ทา้ ยให้
รายการอยู่ในความทรงจำ� ท่ีดีของผฟู้ งั
บทบาทหน้าท่ีของส่วนปิดรายการ
สว่ นปดิ รายการมบี ทบาทตอ่ รายการในหลายลกั ษณะ บางลกั ษณะกเ็ หมอื นกบั บทสว่ นเปดิ รายการ
แตบ่ างอยา่ งก็แตกต่างไป กลา่ วโดยรวมสว่ นปดิ รายการมีหนา้ ท่ี ดงั นี้
1. การสรุปท้ายรายการ เป็นการสรุปเนอื้ หา ประเดน็ ตา่ งๆ ท่ีกล่าวถงึ ในรายการ ขมวดท้ายให้
ข้อคดิ ก่อนจะจบรายการ
นอกจากนี้ควรยํ้าเตือนข้อมูลเกี่ยวกับรายการแม้ผู้เขียนบทจะพูดถึงข้อมูลดังกล่าวในส่วนเปิด
รายการแลว้ กต็ าม แตผ่ ฟู้ งั บางคนอาจไมไ่ ดฟ้ งั รายการในชว่ งตน้ อาจจะเปดิ เขา้ มาฟงั ชว่ งกลางของรายการ
ดงั นัน้ ผู้เขียนบทจงึ ควรบอกให้ทราบชือ่ รายการ สถานีท่กี ระจายเสยี ง ชอ่ื ผู้ด�ำเนินรายการตลอดจนแขก
รบั เชญิ ของรายการ (กรณีที่ม)ี เหมือนกับชว่ งเปดิ รายการหรืออาจจะบอกเพียงย่อๆ เปน็ ต้น