Page 16 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 16
14-6 นโยบายสาธารณะในบรบิ ทโลก
เรื่องที่ 14.1.1
เครื่องมือและกลไกการแก้ปัญหา “อาชญากรรมข้ามชาติ”
ในระดับสากล
กองอ�ำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ (กปอ.) ซึ่งเป็นกลไกของรัฐท่ี
รบั ผดิ ชอบเรอ่ื งอาชญากรรมขา้ มชาตไิ ดใ้ หน้ ยิ าม “อาชญากรรมขา้ มชาต”ิ ไวว้ า่ 1 หมายถงึ การกระทำ� ของ
องคก์ รหรอื กลมุ่ บคุ คล สมคบและรว่ มมอื กนั กระทำ� ความผดิ ตอ่ เนอื่ งจากประเทศหนงึ่ ไปยงั อกี ประเทศหนงึ่
หรอื หลายประเทศ อนั เปน็ ความผดิ ตามกฎหมายและบทลงโทษของประเทศทอ่ี งคก์ รหรอื กลมุ่ บคุ คลเหลา่ นน้ั
ดำ� เนนิ การ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เพอ่ื มงุ่ แสวงผลประโยชนแ์ ละอำ� นาจทขี่ ดั ตอ่ หลกั กฎหมายและศลี ธรรม
ก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ความสมั พันธแ์ ละความมน่ั คงของบคุ คล องค์กร เศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และ
อื่นๆ รวมทัง้ ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ
ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ก�ำหนดนิยามศัพท์อาชญากรรมข้ามชาติว่า หมายถึง การกระท�ำท่ี
ประเทศที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยสองประเทศ ถือว่าเป็นความผิดกฎหมายอาญาและก�ำหนดโทษไว้ กระท�ำ
ร่วมกันโดยกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป ในรูปแบบขององค์กร มีจุดมุ่งหมายเพ่ือแสวงหาอ�ำนาจและ
ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยมีการตระเตรียม การพยายามและลงมือกระท�ำความผิดต่อเน่ืองกันจาก
ประเทศหน่งึ ไปยงั อกี ประเทศหน่ึงหรอื หลายประเทศ
ในระดับนานาชาติ องคก์ รสหประชาชาติ (United Nations: UN) ได้ใหค้ ำ� จ�ำกดั ความของกลมุ่
องคก์ รอาชญากรรม ไวว้ ่า หมายถงึ “กลมุ่ บุคคลทมี่ กี ารจดั ต้งั รว่ มกนั ตัง้ แต่ 3 คนข้นึ ไป ดำ� รงอยู่มาเป็น
ระยะหนงึ่ มกี ารประสานการด�ำเนนิ งานระหวา่ งกนั โดยมเี ปา้ หมายในการกระท�ำอาชญากรรมรา้ ยแรงหนงึ่
อย่างหรือมากกว่า หรือในการกระท�ำความผิดตามอนุสัญญานี้ เพ่ือให้ได้มาซ่ึงผลประโยชน์ทางการเงิน
หรอื ทางวัตถอุ ยา่ งอื่น ไม่ว่าทางตรงหรอื ทางอ้อม”
อาชญากรรมขา้ มชาตเิ ปน็ “อาชญากรรมรา้ ยแรง” ซง่ึ เปน็ การกระทำ� ความผดิ ทม่ี โี ทษจำ� คกุ อยา่ ง
นอ้ ย 4 ปี ขึ้นไป โดยทีค่ วามผดิ มีลักษณะ “ข้ามชาติ” คอื ความผดิ ทีม่ อี งคป์ ระกอบคอื 1) กระทำ� ในรฐั
มากกว่าหนึ่งรัฐ 2) กระท�ำในรัฐหนึ่ง แต่มีการเตรียมการ วางแผน ส่ังการ หรือควบคุมในอีกรัฐหน่ึง
3) กระทำ� ในรฐั หนงึ่ แตเ่ กย่ี วขอ้ งกบั กลมุ่ อาชญากรทจี่ ดั ตง้ั ในลกั ษณะองคก์ ร ซง่ึ มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งในกจิ กรรม
ทางอาชญากรรมในรัฐมากกว่าหนึ่งรัฐ หรือ 4) กระท�ำในรัฐหนึ่ง แต่มีผลกระทบส�ำคัญในอีกรัฐหนึ่ง
อาชญากรรมข้ามชาติเป็นกิจกรรมทด่ี �ำเนนิ การโดยองคก์ รอาชญากรรม ซง่ึ มีลักษณะส�ำคญั คือ 1) มีการ
จัดล�ำดับช้ันในองค์กร 2) ไม่มีอุดมการณ์ หรือเป้าหมายทางการเมือง 3) มีสมาชิกจ�ำนวนจ�ำกัดเฉพาะ
กลุ่ม 4) มีการด�ำเนินงานอยา่ งต่อเนอื่ ง 5) ใชว้ ิธกี ารผิดกฎหมาย และใชค้ วามรนุ แรง เชน่ ข่มขู่ หรอื ตดิ
1 ณรัชต์ เศวตนันท์, “อาชญากรรมข้ามชาติ เร่ือง “อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ,” จดหมายข่าว กองการต่างประเทศ
ส�ำนักงานตำ� รวจแห่งชาติ 4, 2 (มกราคม–มนี าคม 2547): 5-7.