Page 17 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 17
นโยบายสาธารณะด้านอาชญากรรมขา้ มชาติในบรบิ ทโลก 14-7
สินบน 6) มีการก�ำหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบ แบ่งงานกันท�ำชัดเจน 7) มีลักษณะเป็นการผูกขาด มี
กฎ ขอ้ บงั คบั ระหว่างสมาชิกชัดเจน และ 8) ด�ำเนนิ การในลกั ษณะปดิ ลับ2
ด้วยตระหนักถึงความร้ายแรงของปัญหาดังกล่าว องค์การสหประชาชาติจึงได้มีมติรับอนุสัญญา
สหประชาชาตเิ พอื่ ตอ่ ตา้ นอาชญากรรมขา้ มชาตทิ จี่ ดั ตงั้ ในลกั ษณะองคก์ รใน ค.ศ. 2000 (United Nations
Convention Against Transnational Organized Crime, 2000) ซง่ึ ขณะนม้ี ปี ระมาณ 124 ประเทศ ทไี่ ด้
รว่ มลงนามในอนสุ ญั ญาฯ ในระหวา่ งวนั ที่ 11-15 ธนั วาคม พ.ศ. 2543 ทเี่ มอื ง Palermo ประเทศอติ าลี และ
ไดอ้ อกพธิ สี ารอกี 3 ฉบบั เพอ่ื ใหน้ านาประเทศไดพ้ จิ ารณารว่ มลงนามและใหส้ ตั ยาบนั ตามความสมคั รใจ คอื
1. พิธีสารเพ่อื ป้องกนั ปราบปราม และลงโทษการคา้ มนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเดก็ (Protocol
to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons, Especially Women and Children)
พิธีสารนี้มีจ�ำนวน 20 ข้อประกาศ ด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและต่อต้านการค้ามนุษย์
เนน้ สตรแี ละเดก็ คุม้ ครองและชว่ ยเหลอื ผู้ตกเป็นเหย่ือ และสง่ เสริมความร่วมมอื ระหวา่ งรัฐภาค ี
2. พิธีสารเพื่อต่อต้านการลักลอบขนผู้โยกย้ายถิ่นฐานทางบก ทางทะเล และทางอากาศ
(Protocol Against the Smuggling of Migrants by Land, Sea and Air) พิธสี ารนี้มจี �ำนวน 25 ขอ้
โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ นการลกั ลอบขนผโู้ ยกยา้ ยถนิ่ ฐาน และความรว่ มมอื ระหวา่ งรฐั ภาคี
3. พิธีสารเพ่ือต่อต้านการลักลอบผลิตและค้าอาวุธโดยผิดกฎหมาย (Protocol Against
the Illicit Manufacturing and Trafficking in Firearms, Their Parts and Components and
Ammunition)
ทง้ั น้ี องคก์ ารสหประชาชาติ ไดแ้ บง่ ประเภทขององคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาตอิ อกเปน็ 10 ลกั ษณะ
คอื
1) การลักลอบคา้ ยาเสพตดิ (illicit trafficking in drugs)
2) การลักลอบคนเขา้ เมือง (smuggling of illegal migrants)
3) การค้าอาวุธ (arms trafficking)
4) การลกั ลอบคา้ อาวธุ อุปกรณ์นวิ เคลยี ร์ (trafficking in nuclear materials)
5) กลมุ่ องคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาตแิ ละการกอ่ การรา้ ย (transnational criminal organized
and terrorism)
6) การค้าหญิงและเดก็ (trafficking in women and children)
7) การลักลอบค้าชน้ิ สว่ นมนษุ ย์ (trafficking in body parts)
8) การโจรกรรมและลักลอบคา้ ยานพาหนะ (theft and smuggling of vehicles)
9) การฟอกเงิน (money laundering)
10) การกระทำ� ความผดิ อน่ื ๆ (other activities) ไดแ้ ก่ การโจรกรรมศลิ ปวตั ถุ การใหส้ นิ บน
เจ้าหน้าที่ต�ำรวจและข้าราชการอื่นๆ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม อาชญากรรม
ทรพั ยส์ ินทางปญั ญา และฉอ้ โกงประกันภัยทางทะเล
2 ประธาน วฒั นวณชิ ย,์ “รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์ เรอ่ื ง การใชถ้ อ้ ยคำ� ในอนสุ ญั ญาสหประชาชาตเิ พอื่ ตอ่ ตา้ นอาชญากรรม
ข้ามชาตทิ จี่ ัดตงั้ เปน็ องค์กรและพิธสี ารแนบท้าย,” (2548), 28.