Page 22 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 22

14-12 นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
กิจกรรม 14.1.3

       จงอธบิ ายแนวคิดการจัดการอาชญากรรมข้ามชาตใิ นบริบทโลก มาพอสงั เขป
แนวตอบกิจกรรม 14.1.3

       การจดั การอาชญากรรมขา้ มชาตใิ นบรบิ ทโลก ประกอบไปดว้ ยแนวคดิ ทส่ี �ำคญั คอื 1) การแสวงหา
ความร่วมมือระหว่างประเทศ 2) การช่วยเหลอื ทางอาญาระหว่างประเทศ และ 3) การสร้างเครือข่ายเชิง
นโยบายด้านกระบวนการยุติธรรมอาญา แนวคิดทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นถึงความจ�ำเป็นในการแสวงหา
ความรว่ มมอื และบรู ณาการความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งทง้ั ภายในและระหวา่ งประเทศ

เรื่องที่ 14.1.4
การป้องกันและปราบปราม “อาชญากรรมข้ามชาติ” ของประเทศไทย

       การแก้ไขปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาตขิ องประเทศไทย มแี นวทางสำ� คญั ดังต่อไปน5ี้
       1. 	การจัดตง้ั หน่วยงานเฉพาะกิจ เพอื่ ต่อตา้ นอาชญากรรมข้ามชาติโดยตรงเฉพาะทาง และร่วม
ฝึกอบรมรว่ มกนั ระหว่างประเทศเพอื่ แลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสารระหว่างกัน
       2. 	การจัดหาอุปกรณ์ที่ทันสมัยในการเก็บข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติ เนื่องจากอาชญากรรม
ขา้ มชาตเิ ป็นอาชญากรรมรุนแรงและซับซ้อน ยากในการติดตามจบั กมุ
       3. 	การพฒั นากฎหมาย ระเบยี บ นโยบาย ทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการปอ้ งกนั และปราบปรามอาชญากรรม
ขา้ มชาตใิ หส้ อดคลอ้ งกบั การประสานงานเชงิ นโยบายอยา่ งใกลช้ ดิ ของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อาชญากรรม
ข้ามชาติ ได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ และกระทรวง
พัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ เป็นต้น เพ่อื ร่วมกันต่อตา้ นอาชญากรรมขา้ มชาต	ิ
       4.	 เจา้ หนา้ ทใี่ นกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญาทำ� งานดว้ ยความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ และรว่ มมอื กนั เปน็
หนึ่งเดียวกันในการบังคับใช้กฎหมายการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติอย่างจริงจังและ
ตอ่ เนอื่ ง
       5. 	อาชญากรรมข้ามเป็นอาชญากรรมองค์การ ต้องแสวงความร่วมมือระหว่างประเทศในการมี
สนธิสัญญาระหวา่ งประเทศ หรอื บันทึกขอ้ ตกลงฯ หรอื การจดั ประชุมแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น ทำ� ให้เกดิ
ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั และปราบปรามอาชญากรรมขา้ มชาต	ิ

         5 นวลจันทร์ ทศั นชัยกลุ . อาชญากรรม: การป้องกนั : การควบคมุ , (กรงุ เทพฯ: ม.ป.พ., 2528), 256-257.
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27