Page 43 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 43

นโยบายสาธารณะด้านอาชญากรรมข้ามชาติในบรบิ ทโลก 14-33

เรื่องที่ 14.2.4
การป้องกันและปราบปราม “การค้ามนุษย์” ของประเทศไทย

       แนวทางการป้องกันและปราบปราม “การคา้ มนุษย”์ ของประเทศไทย ประกอบไปดว้ ย
       1.	 น�ำนโยบาย และแผนระดบั ชาตสิ รา้ งกลไกทุกระดบั ตั้งแต่ชมุ ชน ระดับจงั หวัด ระดับประเทศ
ในการป้องกนั การชว่ ยเหลอื คมุ้ ครองเดก็ และหญงิ ทต่ี กเป็นเหยอ่ื ของการคา้ มนษุ ย์ การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย
อยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนอ่ื ง การปราบปราม รวมทงั้ สง่ กลบั อยา่ งปลอดภยั การบำ� บดั ฟน้ื ฟแู ละการบรู ณาการ
คืนสู่สงั คม
       2.	 การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและทักษะในการ
ปฏิบัติงานในทุกๆ ด้าน และส่งเสริมให้หน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน ท่ีด�ำเนินงานด้านการป้องกันและ
ปราบปราม “การค้ามนษุ ย์” อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
       3.	 การสรา้ งความเขม้ แข็งของครอบครวั ชมุ ชน และประชาชนใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับ
ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาของกระบวนการ “การค้ามนุษย์” โดยมีส่วนร่วมในการป้องกันและ
ปราบปราบ “การค้ามนษุ ย”์
       4.	 การสร้างความร่วมมือในการป้องกันและปราบปราม “การค้ามนุษย์” ระหว่างภาครัฐและ
เอกชนทกุ ระดบั เชน่ ระดบั ทอ้ งถนิ่ ระดบั จงั หวดั ระดบั ชาติ จนถงึ ระหวา่ งประเทศใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั การ
ในอนสุ ญั ญา ปฏญิ ญา พธิ สี าร หรอื กฎหมายระหวา่ งประเทศทเี่ กยี่ วขอ้ ง เพอื่ ขจดั บคุ คลหรอื กลมุ่ ขบวนการ
ก่ออาชญากรรมการค้ามนุษยข์ ้ามชาติ
       5.	 สร้างเครือข่ายการประสานการด�ำเนินงาน ท้ังระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติในการป้องกัน
และปราบปราม “การค้ามนุษย์” ภายในประเทศและระหว่างประเทศ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือทุกระดับ
เชน่ ระดบั นโยบาย ระดบั ปฏบิ ตั ิ ทง้ั ภาครฐั เอกชน องคก์ รปฏบิ ตั งิ านในชมุ ชน องคก์ รระหวา่ งประเทศ ทงั้
ในระดบั จงั หวดั ระดบั ประเทศ ระดบั ระหวา่ งประเทศ ระดบั ภมู ภิ าค ในรปู ของทวภิ าคแี ละพหภุ าคี เปน็ ตน้
       6.	 ปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิ การดำ� เนนิ การบงั คบั ใชก้ ฎหมายโดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง ให้มีมาตรการปราบปรามเป็นพิเศษแก่ผู้กระท�ำผิดท่ีเป็นบุคคลหรือองค์กรข้ามชาติ เช่น มี
บทลงโทษผู้กระท�ำผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์อย่างรุนแรง ใช้มาตรการยึดทรัพย์ และการชดใช้ค่าเสียหาย
แกเ่ ด็กและหญิงท่ตี กเป็นเหยือ่ เปน็ ต้น
       7.	 มาตรการทางสังคมเพ่อื เสรมิ สรา้ งและสง่ เสริมคา่ นิยม เจตคติ ศลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม
และทักษะชวี ติ โดยใหท้ กุ สถาบันในสงั คมเขา้ มามบี ทบาท เช่น สถาบันครอบครวั สถาบันศาสนา สถาบัน
การศึกษา เช่น ผลักดันหลักสูตรการศึกษาให้ความรู้แก่เด็กและหญิงท่ีเกี่ยวกับด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิ
เด็ก และสิทธสิ ตรที ง้ั ในระบบและนอกระบบเพอ่ื สรา้ งค่านยิ มท่ีดแี ละตระหนกั สิทธิของตนเอง เคารพสทิ ธิ
ผอู้ น่ื หลกั สตู รเกย่ี วกบั ครอบครวั ศกึ ษา ทกั ษะชวี ติ เรอ่ื ง เพศศกึ ษา การเขา้ ใจในปญั หาชวี ติ และสามารถ
แก้ไขจดั การปัญหาไดเ้ อง
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48