Page 40 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 40
14-30 นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
เร่ืองที่ 14.2.3
แนวทางการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในบริบทโลก
กฎหมายว่าด้วยการค้มุ ครองเหยอื่ การค้ามนษุ ย์ (Trafficking Victims Protection Act 2000:
TVPA) ของสหรฐั อเมรกิ ามผี ลบังคบั ใชเ้ ม่ือเดือนตุลาคม ค.ศ. 2000 มสี มาชิกท่ัวโลกรวม 188 ประเทศ
โดยสหรัฐอเมรกิ ามบี ทบาทน�ำกฎหมายนฉ้ี บับแรกมาใชบ้ งั คบั การปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษยท์ ง้ั
ในและต่างประเทศ ทั้งเป็นต้นแบบทั่วโลกมีประเด็นส�ำคัญ เร่ืองการปกป้องศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สิทธมิ นุษยชน และทัศนคติร่วมกันของกลมุ่ สิทธิสตรี และกลมุ่ องค์กรสิทธิมนุษยชน กฎหมายว่าดว้ ยการ
คมุ้ ครองเหยอ่ื การคา้ มนษุ ย์ TVPA ของสหรฐั อเมรกิ า โดยมวี ตั ถปุ ระสงคก์ ารปราบปรามการคา้ มนษุ ยโ์ ดย
เฉพาะการคา้ ประเวณี และการบังคับใชแ้ รงงาน มีสาระสำ� คัญของ TVPA มปี ระกอบไปดว้ ย 3P คอื การ
ปอ้ งกนั (Prevention) การด�ำเนนิ คดี (Prosecution) และการค้มุ ครองเหย่ือการคา้ มนุษย์ (Protection)
โดยมีเป้าหมายการคุ้มครองช่วยเหลือเหย่ือจากการค้ามนุษย์ ต้องได้รับการเยียวยาความเสียหายและ
ให้ทางเลอื กแก่เหย่อื ไดแ้ ก่ การจดั ทพ่ี กั การให้การศึกษา การรักษาพยาบาลและการฝกึ อาชพี เป็นต้น
สาระส�ำคญั ของกฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองเหย่อื การคา้ มนุษย์ ประกอบไปด้วย15
1. การด�ำเนินคดี (Prosecution) ได้ก�ำหนดนิยาม “รูปแบบการค้ามนุษย์ที่รุนแรง” (severe
forms of trafficking in person) กับ “การค้ามนุษย์ทางเพศ” (sex trafficking) รวมทั้งค�ำนิยาม
“กจิ กรรมในทางเพศพาณิชย”์ และ “การท�ำใหต้ กอยูภ่ ายใตบ้ งั คับโดยไม่สมคั รใจ” (involuntary) และ
มาตรา 112 ของ TVPA ได้กำ� หนดอัตราโทษขนั้ สงู ตง้ั แต่ 20 ปี ถึงโทษจำ� คกุ ตลอดชีวติ ข้นึ อยู่กับวา่
ผู้เสียหายเป็นเด็กมีอายุตํ่ากว่า 14 ปีหรือไม่ รวมท้ังศาลสามารถริบทรัพย์สินของผู้กระท�ำความผิดคดี
คา้ มนุษย์
2. การป้องกัน (Prevention) กฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองเหยอ่ื การคา้ มนษุ ยไ์ ดก้ ำ� หนดใหค้ วาม
ช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ในการยกร่างกฎหมายป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เป็นรูปแบบ
อาชญากรรมข้ามชาติ สนับสนุนการสืบสวนสอบสวน ฟ้องร้องด�ำเนินคดีผู้ค้ามนุษย์ และการช่วยเหลือ
เหยื่อ แลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่รัฐ มุ่งเน้นความผิดฐานการค้ามนุษย์ เป็นแผนยุทธศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา
ในการแกไ้ ขปญั หาการคา้ หญงิ และเดก็ เปน็ การคา้ มนษุ ย์
3. การคมุ้ ครองเหยอ่ื การคา้ มนษุ ย์ (Protection) กฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองเหยอ่ื การคา้ มนษุ ย์
ใหค้ วามคมุ้ ครองแกผ่ ตู้ กเปน็ เหยอ่ื จากการคา้ มนษุ ยใ์ หส้ ทิ ธกิ ารขออยตู่ อ่ วซี า่ และวางยทุ ธศาสตรห์ ลกั (key
strategy) เพื่อปราบปรามการค้าหญงิ และเด็ก มงุ่ เนน้ ปกปอ้ งคุ้มครองผ้เู สียหาย น�ำผ้เู สยี หายเข้ามาเปน็
พวกเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ขา่ วสารของกระบวนการค้ามนษุ ย์มาใชใ้ นการวางแผนจับกุมผ้กู ระท�ำผดิ คดีคา้ มนษุ ย์
15 ศริ ะ สว่างศิลป,์ แนวทางเสริมสร้างศกั ยภาพการบงั คบั ใช้กฎหมายต่อต้านการค้ามนษุ ยข์ องไทย: ศึกษาเปรยี บเทยี บ
Trafficking Victims Protection Act 2000 ของสหรัฐและ พรบ. ป้องกนั และปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ. 2551, (หลักสตู ร
นักบรหิ ารการทตู รนุ่ ที่ 6, กระทรวงการต่างประเทศ, 2557), 20-22.