Page 36 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 36

14-26 นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
ใดๆ จะต้องค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วมท่ีไม่ใช่ในลักษณะบังคับของผู้ท่ีตกเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ และมี
ความละเอยี ดออ่ นในมติ เิ รอ่ื งหญงิ ชาย และเรอ่ื งเดก็ โดยจะตอ้ งจดั ทำ� มาตรการพเิ ศษในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื
เหยอื่ ที่เป็นผู้เยาว์ รวมทง้ั การจดั ท�ำแนวทางระบผุ ู้ที่ตกเป็นเหยอ่ื ของการคา้ มนุษย์ และมีการประสานการ
ท�ำงานระหว่างชายแดนเพ่ือการส่งกลับอย่างปลอดภัย นอกจากจะเน้นเรื่องการประสานความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงานของรัฐแล้ว ยังได้ระบุถึงการส่งเสริมให้มีความร่วมมือระหว่างองค์การระหว่างประเทศ
และองคก์ รเอกชน และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ในการดำ� เนนิ การดา้ นตา่ งๆ ดว้ ย รวมถงึ การขจดั รากเหงา้
ของปญั หาอนั ไดแ้ ก่ ความยากจน การขาดโอกาสทางการศกึ ษา ความไมเ่ สมอภาคและโอกาสทไี่ มเ่ ทา่ เทยี ม
กนั การเลอื กปฏบิ ตั ใิ นระดบั ปฏบิ ตั กิ าร การกำ� หนดนโยบายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งเพศ อายุ สญั ชาติ เผา่ พนั ธ์ุ
และกล่มุ ทางสังคม

       หลังจากไดร้ ่วมลงนามในบนั ทึกขอ้ ตกลงนแ้ี ลว้ ได้มีการจัดท�ำแผนปฏิบัตกิ าร 3 ปี (พ.ศ. 2548-
2550) การติดตามการด�ำเนินการตามบันทึกข้อตกลงการจัดประชุมประจ�ำปี ตลอดจนการระดมทุนจาก
ภาคตา่ งๆ เปน็ ต้น

       นอกจากจะกำ� หนดแนวทางในเร่อื งการปอ้ งกนั ชว่ ยเหลือ และปราบปรามแล้ว บนั ทกึ ขอ้ ตกลงน้ี
ยังได้ระบุให้มีการคุ้มครองแรงงานย้ายถิ่นไว้ด้วย โดยได้ระบุถึงบันทึกข้อตกลงระดับทวิภาคีเร่ืองการจ้าง
แรงงานระหวา่ งไทยและกมั พชู า ลาว และพมา่ แตไ่ ดม้ กี ารตงั้ ขอ้ สงวนในเรอื่ งทกี่ �ำหนดใหม้ กี ารใชก้ ฎหมาย
แรงงานและอนื่ ๆ ในการคมุ้ ครองสทิ ธขิ องแรงงานทงั้ หมดตามหลกั การไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ แมใ้ นภาพรวมเนอ้ื หา
ของบนั ทกึ ขอ้ ตกลงนจี้ ะใชก้ รอบหลกั การสทิ ธมิ นษุ ยชนในการดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ชว่ ยเหลอื และปราบปราม
การค้ามนุษย์ แต่บันทึกฉบับนี้ก็มิใช่เคร่ืองมือที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย ดังน้ันจึงข้ึนอยู่กับเจตนารมณ์
และปณิธานทางการเมืองของรฐั บาลแต่ละประเทศ ท่จี ะแปรสาระของข้อตกลงไปสู่การปฏบิ ัติ โดยเฉพาะ
ในเร่ืองการคุ้มครองช่วยเหลือผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ และด�ำเนินคดีต่อผู้ท่ีแสวงหาประโยชน์จากการค้ามนุษย์
นอกจากนนั้ ถอ้ ยคำ� ทใี่ ชเ้ ปน็ แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผถู้ กู คา้ ไดร้ ะบถุ งึ ผทู้ ตี่ กเปน็ เหยอ่ื แทจ้ รงิ
ซงึ่ อาจทำ� ใหร้ ฐั ละเลยทจี่ ะดแู ลและใหค้ วามชว่ ยเหลอื แรงงานยา้ ยถน่ิ ทตี่ อ้ งกลายสภาพเปน็ เหยอื่ ของการคา้
มนษุ ยเ์ มอ่ื ถงึ จดุ ปลายทาง อนั เนอ่ื งจากการยดึ เอาความสมคั รใจในการยา้ ยถน่ิ เปน็ องคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั ใน
การพจิ ารณาวา่ ใครคอื เหยอ่ื ทแี่ ทจ้ รงิ จากประสบการณข์ องผปู้ ฏบิ ตั งิ านใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผเู้ สยี หายพบวา่
รฐั มแี นวโนม้ ทจ่ี ะใสใ่ จและใหค้ วามคมุ้ ครองชว่ ยเหลอื แกเ่ หยอ่ื ทไ่ี รเ้ ดยี งสา (innocent victim) โดยเฉพาะ
ทเ่ี ปน็ เดก็ มากกวา่ เหยอ่ื ทส่ี มคั รใจยา้ ยถน่ิ แตต่ อ้ งถกู บงั คบั ใหท้ ำ� งาน หรอื ทำ� งานโดยไมไ่ ดร้ บั คา่ ตอบแทน
จึงจำ� เปน็ ทจ่ี ะต้องมีการติดตามการดำ� เนนิ งานของรัฐทไี่ ดร้ ว่ มลงนามในบนั ทกึ ข้อตกลงน้ี

       2.	 แผนปฏิบัติการอาเรียต13 (ARIAT: Regional Action Plan)
       จัดท�ำขน้ึ ในการประชุมระดับภมู ิภาคเอเชยี ที่กรงุ มะลิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ พ.ศ. 2543 เปน็ การ
ประชุมร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์การระหว่างประเทศและภาคเอกชน สาระส�ำคัญคือ ส่งเสริมความ
รว่ มมอื ในภมู ภิ าคเพอ่ื ดำ� เนนิ การปอ้ งกนั การคา้ มนษุ ย์ โดยเฉพาะการคา้ หญงิ และเดก็ พทิ กั ษป์ กปอ้ งผตู้ ก
เป็นเหยื่อ รวมถึงการส่งกลับประเทศและให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนการด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำความผิด

         13 เพ่งิ อา้ ง, 70.
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41