Page 33 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 33
นโยบายสาธารณะด้านอาชญากรรมขา้ มชาตใิ นบริบทโลก 14-23
1) อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยเรอ่ื งการคา้ บคุ คลและการแสวงหาประโยชนจ์ ากการเปน็ โสเภณขี องผอู้ น่ื 10
(Convention for the Suppression of the Trafficking in Persons and of the Exploitation of the
Prostitution of Others)
อนสุ ญั ญานม้ี ผี ลบงั คบั ใชใ้ น พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) จงึ มชี อื่ เรยี กวา่ อนสุ ญั ญา 1949 เปน็ อนสุ ญั ญา
ทตี่ อ้ งการจะแกไ้ ขปญั หาการนำ� หญงิ และเดก็ เขา้ มาแสวงหาประโยชนใ์ นระบบโสเภณี อนสุ ญั ญานตี้ อ้ งการ
ทจ่ี ะใชแ้ ทนอนสุ ญั ญาที่เกย่ี วขอ้ งกบั การคา้ มนุษย์ท่ไี ด้จัดทำ� ไวก้ อ่ นหนา้ นี้ เชน่ อนุสญั ญาเรื่องการคา้ ทาส
ผวิ ขาว (พฤษภาคม พ.ศ. 2447) อนุสัญญาการคา้ หญิง และเดก็ (กันยายน พ.ศ. 2464) และอนสุ ัญญา
ปราบปรามการคา้ หญงิ ท่เี ป็นผ้ใู หญ่ (ตุลาคม พ.ศ. 2476)
อนสุ ญั ญานขี้ าดคำ� นยิ ามเรอ่ื งการคา้ บคุ คล และมคี วามประสงคห์ ลกั ทจ่ี ะไมใ่ หม้ กี ารยอมรบั การคา้
ประเวณี โดยประกาศว่าโสเภณีขัดต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และจัดปัญหาโสเภณีไว้เป็นเร่ืองเดียวกับ
การคา้ มนุษย์ อย่างไรก็ตาม แมอ้ นุสญั ญาจะประณามระบบโสเภณี แตก่ ็ไมไ่ ด้ห้ามการที่ผูห้ ญงิ จะเลอื กค้า
ประเวณี โดยทรี่ ฐั จะตอ้ งไมเ่ ขา้ ไปยงุ่ เกยี่ วจดั ระเบยี บการคา้ ประเวณี หนา้ ทข่ี องรฐั มเี พยี งลงโทษผแู้ สวงหา
ประโยชน์จากการเป็นโสเภณีของผู้อ่ืน ด้วยเหตุน้ีจึงท�ำให้ประเทศท่ียอมรับและมีการจัดการดูแลการค้า
ประเวณไี ม่เข้าร่วมเป็นภาคีของอนสุ ญั ญา 1949 จนถงึ ปจั จบุ ัน จึงมีเพียงประมาณ 70 ประเทศทเี่ ปน็ ภาคี
ของอนุสัญญานี้ ซึ่งเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีท�ำให้อนุสัญญาน้ีไม่มีผลในทางปฏิบัติท่ีแท้จริง ใน พ.ศ. 2508
กรรมาธิการเร่ืองสิทธิมนุษยชนได้มีการต้ังคณะท�ำงานเรื่อง “การค้าทาสยุคใหม่” ซ่ึงรับผิดชอบดูแล
อนุสัญญาน้ีดว้ ย
ปัญหาเร่ืองการขาดนิยามที่ครอบคลุมทุกรูปแบบของการค้ามนุษย์ และจ�ำนวนภาคีสมาชิกท่ีมี
จ�ำกัด ท�ำให้เกิดการตระหนักถึงความจ�ำเป็นท่ีจะต้องจัดท�ำเคร่ืองมือระดับสากลในการจัดการปัญหาการ
คา้ มนษุ ย์ ซง่ึ ไดจ้ ดั ทำ� สำ� เรจ็ โดยองคก์ ารปราบปรามยาเสพตดิ และอาชญากรรมขององคก์ ารสหประชาชาติ
ซึ่งให้ความสนใจปัญหาการค้ามนุษย์จากมิติทางอาชญากรรมที่มุ่งเน้นเร่ืองการปราบปรามอาชญากรรม
มากกวา่ เรื่องสิทธิมนษุ ยชน
2) อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยเรอื่ งการคมุ้ ครองสทิ ธแิ รงงานยา้ ยถนิ่ และสมาชกิ ครอบครวั 11 (Convention
on the Protection on the Rights of All Migrant Workers and Members of Their Families)
อนุสัญญานี้จัดท�ำและเปิดให้เข้าเป็นภาคีตั้งแต่ พ.ศ. 2533 แต่เพิ่งมีผลบังคับใช้เม่ือกลาง พ.ศ.
2546 หลงั จากที่ประเทศติมอรเ์ ลสเตเข้าเป็นภาคี อนุสญั ญาน้ถี อื ไดว้ ่าเป็นบรรทดั ฐานในการค้มุ ครองสทิ ธิ
ของแรงงานย้ายถ่ินและสมาชิกครอบครัว โดยครอบคลุมท้ังแรงงานย้ายถิ่นท่ีผ่านการรับรองของรัฐ และ
แรงงานยา้ ยถิ่นท่ผี ่านชอ่ งทางทีไ่ ม่ไดร้ บั การรบั รองทางกฎหมาย ซงึ่ เหยื่อของการคา้ มนษุ ย์ที่เป็นแรงงาน
ย้ายถ่ินผิดกฎหมาย และตกอยู่ในสภาพแรงงานบังคับเยี่ยงทาส สามารถท่ีจะได้รับการคุ้มครองจาก
อนสุ ัญญานี้ได้ แต่ผู้ลภ้ี ยั และคนไร้รฐั จะไมไ่ ด้รบั การคมุ้ ครองจากอนสุ ญั ญานี้
10 ศริ พิ ร สโครบาเนค, อา้ งแลว้ , 53.
11 เพิ่งอ้าง, 58.