Page 28 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 28
14-18 นโยบายสาธารณะในบรบิ ทโลก
พธิ สี ารนม้ี ที ง้ั สนิ้ จำ� นวน 20 ขอ้ ประกาศวา่ ดำ� เนนิ การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื ปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ น
การค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก จะต้องมีแนวทางระหว่างประเทศท่ีสมบูรณ์ในประเทศต้นทาง
ประเทศทางผา่ น และประเทศปลายทาง ซง่ึ รวมถงึ มาตรการทจ่ี ะปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ เชน่
มาตรการทจี่ ะลงโทษ ผคู้ า้ มนษุ ย์ และมาตรการทจี่ ะปกปอ้ งผเู้ สยี หายจากการคา้ มนษุ ย์ รวมทงั้ การคมุ้ ครอง
สทิ ธมิ นุษยชนของผู้เสียหายที่เป็นยอมรับของระดบั สากล
พธิ ีสารนมี้ ีวตั ถุประสงคด์ งั ต่อไปนี้
1. เพอ่ื ปอ้ งกันและปราบปรามการค้ามนุษยโ์ ดยเฉพาะหญงิ และเด็ก
2. เพื่อคุ้มครองและชว่ ยเหลอื ผู้ตกเปน็ เหย่อื
3. เพื่อสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหว่างรฐั ภาคี
พิธีสารนีไ้ ดใ้ ห้ ค�ำนิยามและความหมายของ “การค้ามนุษย์” ไว้อย่างสมบูรณว์ า่ หมายถึง “การ
จัดหา การขนสง่ การส่งต่อ การจัดให้อยอู่ าศัย หรือการรบั ไวซ้ งึ่ บคุ คลด้วยวธิ กี ารขู่เข็ญ หรือด้วยการใช้
กำ� ลงั หรือดว้ ยการบบี บังคับในรูปแบบอ่นื ใด ด้วยการลักพาตัว ดว้ ยการฉอ้ โกง ดว้ ยการหลอกลวง ด้วย
การใช้อ�ำนาจโดยมิชอบ หรือด้วยการใช้สถานะความเสี่ยงภัยจากการค้ามนุษย์โดยมิชอบ หรือมีการให้
หรือรบั เงินหรอื ผลประโยชน์เพ่อื ให้ได้มาซงึ่ ความยินยอมของบคุ คลผ้มู อี �ำนาจ ควบคุมบุคคลอนื่ เพอ่ื ความ
มุ่งประสงค์ในการแสวงประโยชน์ การแสวงประโยชน์อย่างน้อยท่ีสุด ให้รวมถึงการแสวงประโยชน์จาก
การคา้ ประเวณขี องบคุ คลอน่ื หรอื การแสวงประโยชนท์ างเพศในรปู แบบอน่ื การบงั คบั ใช้ แรงงานหรอื บรกิ าร
เอาคนลงเป็นทาสหรือการกระท�ำอื่นเสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การท�ำให้ตกอยู่ใต้บังคับหรือการตัด
อวยั วะออกจากรา่ งกาย เปน็ ตน้ ”
พิธีสารน้ีสามารถใช้เป็นเครื่องมือระดับสากลซึ่งผูกพันรัฐภาคีฉบับแรกท่ีให้ค�ำนิยามเร่ืองการค้า
มนุษย์อันครอบคลุมวัตถุประสงค์ต่างๆ ของการค้ามนุษย์ในปัจจุบันที่มิใช่เพียงเพื่อการบังคับค้าประเวณี
จึงนับได้ว่าเป็นความก้าวหน้าระดับหน่ึงของความพยายามท่ีจะใช้แนวทางในการป้องกันและปราบปราม
อาชญากรรมการค้ามนษุ ย์ พธิ สี ารนี้เปดิ ใหท้ กุ ประเทศลงนามต้ังแต่วนั ที่ 12-15 ธนั วาคม พ.ศ. 2543 ที่
เมอื งปาเลอรโ์ ม ประเทศอติ าลี และภายหลงั จากนน้ั ทสี่ ำ� นกั งานใหญส่ หประชาชาติ ณ นครนวิ ยอรก์ จนถงึ
วนั ที่ 12 ธนั วาคม พ.ศ. 2545 ขณะนมี้ ปี ระเทศทลี่ งนามพธิ สี ารนแ้ี ลว้ กวา่ รอ้ ยประเทศ พธิ สี ารจะมผี ลบงั คบั
ใชก้ ็ตอ่ เมอื่ มรี ฐั ภาคีเขา้ ร่วม 40 ประเทศ โดยไดม้ ผี ลการบงั คับใช้ต้ังแตว่ ันท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2546
โครงสร้างพิธีสารเร่ืองการค้ามนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็ก มีองค์ประกอบส�ำคัญคือ
1) บทบญั ญตั ทิ วั่ ไป และการกำ� หนดนยิ ามของการคา้ มนษุ ย์ 2) การกำ� หนดใหเ้ ปน็ ความผดิ อาญา 3) การ
ใหค้ วามชว่ ยเหลือและความคมุ้ ครองผูเ้ สยี หายจากการคา้ มนุษย์ 4) การกำ� หนดมาตรการป้องกนั ความ
รว่ มมือและอ่ืนๆ 5) การแลกเปล่ียนข้อสนเทศและการฝกึ อบรม และ 6) มาตรการทางด้านชายแดน โดย
พธิ สี ารได้กำ� หนดนยิ าม “การคา้ บุคคล” วา่ มีองค์ประกอบสำ� คัญ 3 ประการคอื 1) การจัดหา การเคลอื่ น
ย้าย การส่งตอ่ 2) การขม่ ขู่ บงั คบั ในรูปแบบอื่นใด หลอกลวงโดยมิชอบ และ 3) วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื การ
แสวงหาผลประโยชนห์ รอื รบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ อนื่ ๆ นอกจากนย้ี งั ไดร้ ะบวุ า่ ความยนิ ยอมของผเู้ สยี หายจาก
การค้ามนษุ ยท์ ี่ยอมให้ผ้อู นื่ แสวงหาประโยชนอ์ ันมิชอบธรรมนั้นไมส่ ามารถนำ� มาเป็นข้ออา้ งได้ หากมีการ
ใช้วธิ กี ารตามท่ไี ด้ระบไุ ว้ในค�ำนิยามของพิธีสาร