Page 37 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 37

นโยบายสาธารณะดา้ นอาชญากรรมขา้ มชาตใิ นบริบทโลก 14-27
โดยเนน้ ใหม้ กี ารรวบรวมแลกเปลย่ี นขอ้ มลู การประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และองคก์ าร
ระหว่างประเทศ และการคำ� นงึ ประเดน็ หญิงชายในการท�ำงาน

       3.	 แถลงการณ์ร่วมการประชุมบาหลี (Bali Conference Co-Chair’s Statement)
       แถลงการณส์ ว่ นนเี้ กดิ จากการประชมุ ระดบั รฐั มนตรจี ากเอเชยี -แปซฟิ กิ ตะวนั ออกกลาง และยโุ รป
เม่ือเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ท่ีเมืองบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เพ่ือร่วมมือจัดการกับอาชญากรรม
ข้ามชาติท่ีเก่ียวข้องกับการค้ามนุษย์ การลักลอบพาคนเข้าเมือง โดยให้ค�ำนึงถึงสิทธิมนุษยชนในการ
ด�ำเนินการ โดยเฉพาะสิทธิมนุษยชนของหญิงและเด็ก และการด�ำเนินการท่ีปราศจากอคติต่อผู้ล้ีภัย
ส่งเสริมให้รัฐต่างๆ เข้าเป็นภาคีของอนุสัญญาปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติและพิธีสารท่ีเก่ียวข้อง
รวมทงั้ การจดั ทำ� กฎหมายของประเทศเพอื่ ดำ� เนนิ การในเรอื่ งการลกั ลอบพาคนเขา้ เมอื ง และการคา้ มนษุ ย์
       4.	 แผนปฏิบัติการอาเซมเพ่ือต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะการค้าหญิงและเด็ก (ASEM
Action Plan on Combat Trafficking in Persons, Especially Women and Children)
       แผนปฏิบัติการนี้เป็นผลพวงจากการประชุมสุดยอดระหว่างผู้น�ำรัฐบาลจากเอเชียและยุโรป เมื่อ
เดอื นตุลาคม พ.ศ. 2543 ทีก่ รุงโซล ประเทศเกาหลี โดยไดแ้ สดงความห่วงใยในปญั หาอาชญากรรมข้าม
ชาติ ที่รวมถึงการลักลอบเข้าเมือง และการแสวงหาประโยชน์จากแรงงานย้ายถ่ิน การค้ามนุษย์เพื่อ
ประโยชน์ทางเพศท�ำให้มีการด�ำเนินการจัดท�ำแผนปฏิบัติการนี้ และผ่านการรับรองเม่ือเดือนพฤษภาคม
พ.ศ. 2544 ท่ีกรุงปักก่ิง ประเทศจีน โดยมีจุดประสงค์ให้ประสานสร้างระบบข่าวสารข้อมูล การป้องกัน
การค้ามนุษย์ การบังคับใช้กฎหมายและคุ้มครองเหย่ือของการค้ามนุษย์ การเยียวยา การส่งกลับ และ
การสรา้ งชวี ติ ใหม่ของหญิงและเด็กที่เป็นเหยอ่ื การตดิ ตามและประเมินผล
       สว่ นในระดบั ทวภิ าคไี ดม้ กี ารจดั ทำ� บนั ทกึ ความเขา้ ใจระหวา่ งรฐั บาล เพอ่ื รว่ มมอื กนั ในการใหค้ วาม
ชว่ ยเหลอื และสง่ กลบั ผทู้ ตี่ กเปน็ เหยอ่ื ของการคา้ มนษุ ย์ และแรงงานยา้ ยถน่ิ เชน่ บนั ทกึ ความเขา้ ใจระหวา่ ง
รฐั บาลแหง่ ราชอาณาจกั รไทยกับรัฐบาลแหง่ ราชอาณาจกั รกมั พูชา เร่ือง ความร่วมมอื ทวภิ าควี า่ ดว้ ยการ
ขจัดการค้าเด็กและหญิง และการช่วยเหลือเหยื่อของการค้ามนุษย์ ซ่ึงใช้ค�ำนิยามของการค้ามนุษย์
สอดคลอ้ งกบั พธิ สี ารเรอื่ งการคา้ บคุ คลโดยเฉพาะการคา้ หญงิ และเดก็ ขององคก์ ารสหประชาชาติ และยงั ได้
ระบุวัตถุประสงค์ต่างๆ ของการค้าหญิงและเด็กไว้อย่างกว้างขวางเพิ่มเติมจากพิธีสาร คือนอกเหนือจาก
การค้าประเวณี แรงงานทาส แรงงานรับใช้ภายในบ้านแล้ว ยังได้รวมถึงการใช้เด็กและหญิงในสื่อลามก
อนาจาร การรับเป็นบุตรบุญธรรมอันเป็นเท็จ และการกระท�ำให้หญิงและเด็ก ตกเป็นทาสยาเสพติดด้วย
เปน็ ทนี่ า่ เสยี ดายวา่ บนั ทกึ ความเขา้ ใจนไี้ มไ่ ดใ้ หก้ ารคมุ้ ครองชว่ ยเหลอื เหยอื่ ของการคา้ มนษุ ยท์ เี่ ปน็ ชาย ซง่ึ
สว่ นมากจะถกู บงั คบั ใชแ้ รงงานเยยี่ งทาสในอตุ สาหกรรมประมง บนั ทกึ ขอ้ ตกลงนไี้ ดม้ กี ารลงนามเมอื่ เดอื น
พฤษภาคม พ.ศ. 2546
       5.	 บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลราชอาณาจักรกัมพูชา
เรื่อง ความร่วมมือทวิภาคีว่าด้วยการขจัดการค้าเด็กและหญิงและการช่วยเหลือของการค้ามนุษย์14
(Memorandum of Understanding Between the Government of the Kingdom of Thailand and

         14 การป้องกนั และแก้ไขปัญหาการค้ามนษุ ย์ (ประเทศไทย), อ้างแล้ว, 117-126.
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42