Page 16 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 16

2-6 พ้ืนฐานสังคมและวฒั นธรรมเขมร

กะเทาะหน้าเดียวรูปวงร)ี เครื่องมือหนิ แบบ spilt-pebble และเคร่ืองมือขดู สับและสับตัด (chopper and
chopping-tool) โดยเครื่องมือหินแบบสุมาตราเป็นหินกรวดท่ีกะเทาะผิวเดิมออกเพียงด้านเดียวเป็น
เครื่องมือหินเด่นท่ีพบได้เป็นจานวนมากกว่าเครื่องมือหินแบบอื่นๆ ในแหล่งวัฒนธรรมหัวบิเนียนใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ท่ีลอางสเปียนน้ันพบเครื่องมือหินแบบสุมาตราน้อยกว่าแบบ spilt-pebble
ซึ่งเป็นเคร่ืองมือหินท่ีเกิดจากการกะเทาะหินกรวดให้แยกออกเป็น 2 ส่วน ซ่ึงจะทาให้ได้เครื่องมือหิน
2 ช้ิน อันเป็นการทนุ่ แรงและประหยดั แรงกวา่ การทาเคร่ืองมือหินแบบสุมาตรา นอกจากนีท้ ลี่ อางสเปียน
ยังพบ เคร่ืองมือสะเก็ดหิน (flake tool) ซ่ึงเป็นเครื่องมือขนาดเล็กปะปนอยู่กับเคร่ืองมือหินกรวดซ่ึงมี
ขนาดใหญก่ วา่ ด้วย (Forestier et al., 2015: 203-204)

       มนุษยใ์ นวัฒนธรรมหัวบิเนียนท่ีลอางสเปยี นอาศัยอย่พู ้ืนที่ทางตอนลา่ งของภเู ขาอนั เป็นทตี่ ้ังของ
ถ้าใกล้กับแม่น้าสังแกซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ราว 5 กิโลเมตร และใช้ถ้าเป็นสถานที่
ฝังศพ โครงกระดูกท่พี บซงึ่ มอี ายรุ าว 3,310 ปีมาแลว้ ถกู ฝงั พรอ้ มกบั ไหและหมอ้ ดินเผา ขวานหิน เขยี้ ว-
หมปู า่ กระดองเต่า และ orche pencil (Zeitoun et al., 2012: 529, 531-532)

       มนุษย์ที่อาศัยอยู่รวมกันท่ีลอางสเปียนไม่ได้อยู่อย่างโดดเดยี่ วหรอื ตัดขาดจากมนุษย์ที่อาศัยอยู่
ในสถานที่อื่น กาไลที่ทาจากเปลือกหอยทะเลช้ีให้เห็นว่ามนุษย์ท่ลี อางสเปียนมีการติดต่อกับมนุษย์กลมุ่
อื่นๆ ซ่ึงอาศัยอยู่ในท่หี า่ งไกลออกไป

2. ชุมชนเกษตรกรรม

       ช่วงเวลาท่ีมนุษย์ในวัฒนธรรมหัวบิเนียนเข้ามาอาศัยที่ลอางสเปียนเมื่อราว 11,000 ปีมาแล้วน้ัน
เป็นช่วงของการเปล่ียนจากยุคไพลสโตซีน (Pleistocene epoch, 2.588 ล้านปี-11,700 ปีมาแล้ว) หรือ
ยุคน้าแข็ง (Ice ages) ซ่ึงเป็นยุคที่มีน้าแข็งปกคลุมผิวโลกสลับกันไปมากับช่วงที่น้าแข็งละลายอัน
เนื่องมาจากอากาศที่อุ่นข้ึน มาสู่ยุคโฮโลซีน (Holocene epoch, 11,700 ปีมาแล้ว-ปัจจุบัน) สภาพ
ภูมิอากาศในยุคโฮโลซีนค่อนข้างคงที่ อากาศที่หนาวเย็นเปลี่ยนเป็นอบอุ่น ความชื้นในอากาศสูงข้ึน
ปรมิ าณน้าฝนเพิม่ ขึ้น มีชว่ งเวลาทฝี่ นตกสลับกบั ช่วงแห้งแลง้ อันเนอ่ื งมาจากอิทธิพลของลมมรสมุ สภาพ
ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปทาให้เอื้อต่อการเกิดขึ้นของการเกษตรกรรม (การเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์)
ซ่งึ เกิดขึน้ ในยคุ โฮโลซนี ตอนตน้ (Richardson et al., 2001; Gupta, 2004; Marceau and Myers, 2005)
อนั นามาซ่งึ การเปลี่ยนวิถกี ารดารงชวี ิต และเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของความเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม

       การเพาะปลูกข้าวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เร่ิมขึ้นเม่ือราว 5,000-4,500 ปีมาแล้วทางตอน
เหนือของเวียดนาม (Silva et al., 2015) ขณะที่การเพาะปลูกข้าวในกัมพูชาเกิดข้ึนอย่างช้าที่สุดใน
ระหว่าง 4,154-3,836 ปีมาแล้วที่สาโรงเสน กาปงชนัง (Ly, 2002) การสารวจและขุดค้นทางโบราณคดี
ก่อนประวัติศาสตร์ท่ีสาโรงเสนยังพบโครงกระดูกมนุษย์ด้วย แต่ยังไม่สามารถกาหนดอายุได้ชัดเจน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21