Page 19 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 19
ประวตั ศิ าสตร์ 2-9
อังกอร์โบเร็ยต้ังอยู่ในพื้นท่ีลุ่มต่า น้าท่วมถึง และพ้ืนท่ีลุ่มหลังคันดินที่มีน้าท่วมเป็นประจาทุกปี (Stark,
2003: 93) ไม่มีความต้องการระบบการควบคมุ น้าเพ่อื การเพาะปลูก
นอกตัวเมืองออกไปเป็นพื้นท่ีเพาะปลูก-เล้ียงสัตว์ อังกอร์โบเร็ยตั้งอยู่ในพื้นท่ีที่เหมาะกับ
การปลูกข้าว วิธีการปลูกข้าวเป็นแบบการเพาะปลูกในพ้ืนที่ท่ีถูกน้าท่วมในช่วงท่ีน้าท่วมลดระดับลง
วิธีการเพาะปลูกแบบนี้เป็นวิธีที่ใช้แรงงานน้อยแต่ให้ผลผลิตสูงเท่าๆ กับการทานาหว่าน ซ่ึงพบได้ไม่
เพียงแต่ที่อังกอร์โบเร็ยหรือในเขตลุ่มน้าโขงตอนล่าง แต่พบได้ในอีกหลายพื้นท่ใี นเอเชยี ตะวันออกเฉียง
ใต้ช่วงสหัสวรรษแรก นอกจากน้ียังมีการเพาะปลูกบริเวณคันดินริมน้าอีกด้วย ส่วนการเล้ียงปศุสัตว์
เกดิ ขึน้ ในทุ่งทีไ่ ม่ได้ใช้ประโยชน์เพื่อการเพาะปลูก และมีการจบั ปลาและสตั วน์ า้ มาใชอ้ าหารจากหนองบึง
ในพื้นทล่ี ุ่มหลงั คนั ดนิ (Stark, 2003: 100-101; Stark, 2006c: 100)
ภาพที่ 2.1 แผนผงั เมอื งองั กอร์โบเร็ย
ทม่ี า: Stark, 1998: 190.