Page 19 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 19
สภาพสงั คม 4-9
ภาษิตสานวนข้างต้นสะท้อนความสาคัญของผู้หญิงในฐานะภรรยา เมื่อกล่าวถึงครอบครัวหรือ
บา้ น ผู้หญิงมบี ทบาทสาคญั ในการดารงสถาบันดงั กลา่ ว ผหู้ ญงิ ยังมหี น้าทอ่ี บรมสั่งสอนลูกหลานให้อยู่ใน
กรอบของศีลธรรมของสังคม บทบาทของผู้หญิงจึงมีความสาคัญในครอบครัว ทั้งดูแลความเปน็ อยู่ ดูแล
ทรัพย์ที่สามีเป็นผู้หา ดูแลคนในครอบครัว ผู้หญิงจึงต้องได้รับการอบรมอย่างมากให้อยู่ในกรอบของ
สังคมก่อนออกเรือน หากไม่ปฏิบัติตามครรลองศีลธรรมจะถูกการลงโทษทางสังคม ถือว่าทาผิดจารีต
ประเพณีอันดีงาม และสูญส้ินเกียรติยศทงั้ ต่อตนเองและครอบครัว (ภูมิจิต เรืองเดช, 2548: 29) ในขณะ
ที่ลูกสาวจะได้รับการดูแลเขม้ งวดกว่าลูกชาย ตั้งแต่เริ่มโตกระทั่งแต่งงาน แม้กระท่ังการเดินทางไปยงั ที่
ตา่ งๆ ก็ต้องมญี าติผ้ใู หญต่ ิดตามดว้ ย ด้วยเหตวุ า่ จารีตทางสงั คมค่อนข้างเพง็ เลง็ ไปกบั การปฏิบัติตนของ
ผู้หญิงให้อยู่ในกรอบของความเป็นสตรีทด่ี ี ซ่ึงถูกกาหนดไว้ใน “สตรีครบลักษณ์” 31 ประการ (RBYc Pum
1999: 33-35) ในทน่ี จ้ี ะยกมาบางประการ
“รู้จักเคารพและมีสัมมาคารวะต่อพ่อ แม่ และสามี”
“รู้จักรักษาทรัพย์สิน”
“ไม่สยายผมต่อหน้าบคุ คลอ่ืน”
“ไม่ยืนหรืออวดร่างกายให้บคุ คลอ่ืนมอง”
“อย่าหยอกล้อหัวเราะเล่น”
“ไม่พูดเกีย้ วพาราสีผ้ชู าย”
ผู้หญิงมขี อ้ กาหนดทางสังคมในการปฏิบตั ใิ ห้อย่ใู นกรอบของความดี ความงาม และความเหมาะสม
ลักษณะดังกลา่ วเป็นสว่ นหน่ึงของสงั คมเขมร
ในครอบครัวไดก้ าหนดบทบาทผูช้ ายใหท้ าหน้าท่สี ามที ด่ี ี ส่วนผูห้ ญงิ ใหท้ าหนา้ ท่ภี รรยาท่ีเหมาะสม
แต่ทั้งสองฝ่ายต่างเกื้อหนนุ กัน เช่น ฝ่ายสามีต้องให้เกียรติภรรยา ฝ่ายภรรยาต้องรู้จักแทนคุณพอ่ แมท่ ั้ง
ของตนเองและสามี ภายในครอบครัวยังยึดถือลาดับอาวุโสเป็นสาคัญ โดยเคารพและให้เกียรติผู้อาวุโส
อกี ทั้งตอ้ งคอยปรนนิบัติและเลย้ี งดู ซึ่งถอื เป็นหน้าทขี่ องลกู หลาน
กจิ กรรม 4.1.1
1. ลักษณะครอบครัวเขมรได้รบั ผลกระทบจากปจั จัยใดบ้าง
2. ผ้ชู ายมีบทบาทในครอบครวั อยา่ งไร