Page 17 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 17

สภาพสังคม 4-7

2561) หลังจากท่ีฝรั่งเศสพยายามให้ชาวเขมรใช้นามสกุลมาต้ังแต่ต้นทศวรรษที่สิบเก้าแล้วก็ตาม โดย
ระยะแรกนานามสกุลมาจากชอ่ื พอ่ แม่ ปยู่ ่าตายาย

       ปัจจยั ทางสงั คมและเศรษฐกิจไดส้ ง่ ผลต่อลักษณะครอบครวั เมอ่ื สังคมพฒั นากลายเป็นเมอื งใหญ่
หรือเมืองท่องเท่ียวย่อมสง่ ผลต่อครอบครัว ทั้งด้านความเปน็ อยู่และความสมั พนั ธ์ของคนในครอบครวั ใน
ทานองเดียวกันปัจจัยทางเศรษฐกิจก็ส่งผลต่อการดารงอยู่ของครอบครัวด้วย นอกจากปัจจัยทางสังคม
และเศรษฐกิจแล้วยังมีปจั จยั อ่นื ๆ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ครอบครวั ดงั น้ี

       สงคราม ภายหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1946 ความวุ่นวายได้เกิดเป็นระลอกๆ
ภาวะสงครามเกดิ ข้ึนหลายครัง้ แต่ละครั้งส่งผลโดยตรงต่อชาวเขมร ท้งั ทาให้ครอบครวั แตกสลาย พ่อ แม่
ลูก และญาติผู้ใหญ่พลัดพรากจากกัน ในปัจจุบันบางครอบครัวก็ยังไม่ได้พบกันอีกเลย หรือเกิดพ่อเล้ียง
เดี่ยว แม่เล้ียงเดย่ี ว ด้วยเหตุผลจากการเสยี ชวี ิตหรือพลัดพรากกนั จากภาวะสงคราม สมาชิกในครอบครวั
ช่วงสงครามจึงมีเพียงพ่อหรือแม่อาศัยอยู่กับลูกท่ีไม่ได้แต่งงาน สงครามได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการ
ล่มสลายทางครอบครัว จนเมื่อมีการลงนามข้อตกลงสันติภาพที่กรุงปารีสในปี ค.ศ. 1991 ที่จัดเลือกต้ัง
โดยสันติภายใต้องค์การบริหารกัมพูชาชั่วคราวของสหประชาชาติ หรือ อันแท็ก (United Nations
Transitional Authority in Cambodia หรือ UNTAC) สังคมและครอบครัวจึงอยู่ในภาวะปกติไมต่ ้อง
รับผลกระทบจากสงคราม

       ระบบสาธารณสุข ครอบครัวชาวเขมรยังได้รับผลกระทบจากระบบสาธารณสุขที่ยังไม่ดีพอ เริ่ม
ต้ังแต่การคลอด รวมท้ังอัตราการอยู่รอดของเด็กแรกเกิดจนถึง 5 ปี ข้อมูลทางสถิติพบว่าอัตราการตาย
ของเด็กที่อายุต่ากว่า 5 ปี มีจานวนถึง 141 คนต่อเด็ก 1,000 คน อันเนื่องมาจากระบบสาธารณสุขทขี่ าด
มาตรฐาน ในขณะท่ีอัตราการตายของแม่คลอดบุตรมีจานวนต่ากวา่ คือ 4.4 คนต่อ 1,000 คน (สีดา สอนศรี
และคณะ, 2552: 645) ครอบครัวชาวเขมรน่าจะมีจานวนสมาชิกมากกว่าน้ีหากระบบสาธารณสุขได้รับ
การพฒั นาในทศิ ทางท่ดี ีข้นึ

2. ความสัมพนั ธ์และหน้าทข่ี องคนในครอบครัว

       ความสัมพันธ์ของคนในครอบครัวท่ีจะกล่าวถึงคือ พ่อ แม่ และลูก แม้ว่าบางครอบครัวจะอยู่
ร่วมกับญาติผู้ใหญ่และญาติพ่ีน้องแต่ก็ทาหน้าท่ีเพียงสนับสนุนสมาชิกหลัก โดยปกติความสัมพันธ์ของ
สมาชิกในครอบครัวจะแนบแน่น บางครอบครัวแม้ออกไปทาไร่นาก็ยังคงกลับมากินอาหารพร้อมกันที่
บ้าน ลักษณะดังกล่าวยังคงปรากฏอยู่บ้างกับครอบครัวในเมืองท่ีสมาชิกในครอบครัวทางานอยู่ไม่ไกล
จากละแวกบ้าน หลังจากมื้ออาหารบ้างก็พักผ่อน บ้างก็ทาอะไรเล็กๆ น้อยๆ ก่อนออกไปทางานอีกคร้ัง
ในเวลา 14.00 น. (ลักษณะน้ีไดร้ ับผลมาจากการปกครองของฝร่ังเศส) แตเ่ นอื่ งจากสภาพวิถชี ีวติ ของคน
ในเมืองเปลี่ยนไป บางครอบครัวจึงกินอาหารร่วมกันเพียงม้ือเย็นเท่านั้น แม้วิถีชีวิตของคนในเมือง
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22