Page 41 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 41
สถติ นิ ันพาราเมตรกิ 13-31
1.9 ตวั อย่างการน�ำ เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล จากข ้อมูลผ ลการท ดสอบแมค นีมาร์ในภาพที่ 13.9
นำ�เสนอผ ลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังต ารางที่ 13.6
ตารางท ี่ 13.6 การเปรียบเทยี บความแ ตกต า่ งข องค วามคดิ เห็นกอ่ นแ ละหลังก ารใช้คอมพิวเตอร์
กอ่ นอบรม หลังอบรม χ2 p
ไม่เหน็ ดว้ ย เหน็ ด้วย
เหน็ ด้วย 36 40 2.914 .088
ไม่เหน็ ด้วย 48 22
จากตารางที่ 13.6 พบว่าความคิดเห็นของพนักงานก่อนและหลังการนำ�คอมพิวเตอร์มาใช้ไม่
แตกต่างก ัน
2. การทดสอบเครอ่ื งหมาย
2.1 ลักษณะของการทดสอบ การทดสอบเครื่องหมายใช้เพื่อทดสอบการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล
2 ชุดที่มาจากกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน หรือกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ข้อมูลแต่ละคู่ที่นำ�มาทดสอบต้องวัดในระดับ
จัดอันดับ ซึ่งจะสามารถเปรียบเทียบได้ว่ามากกว่ากันหรือน้อยกว่ากัน การทดสอบนี้เหมาะสำ�หรับงานที่ไม่
สามารถว ัดข้อมูลในเชิงปริมาณ แต่วัดได้เพียงการเปรียบเทียบค่าของข้อมูลห น่วยห นึ่งว่ามากกว่าหรือน้อย
กว่าข ้อมูลอ ีกห น่วยห นึ่งท ี่จับค ู่กัน การทดสอบน ี้นิยมใช้เครื่องหมาย + และ — แทนผ ลก ารเปรียบเทียบจาก
คู่ท ี่ว ัดได้ โดยใช้เครื่องหมาย + ถ้าผ ลก ารเปรียบเทียบค ่าแ รกม ากกว่าค ่าห ลัง และใช้เครื่องหมาย — ถ้าค ่าแ รก
น้อยก ว่าค ่าห ลัง
2.2 ขอ้ ต กลงเบ้ืองต น้
2.2.1 ข้อมูลว ัดในระดับจ ัดอันดับ
2.2.2 ข้อมูลแต่ละคู่เป็นอ ิสระต่อกัน
2.3 การตั้งสมมติฐาน สมมติฐานตั้งในลักษณะของโอกาสหรือความน่าจะเป็นของการเกิด
เครื่องหมาย + และ — สมมติฐานตั้งได้ท ั้งแบบท างเดียวแ ละส องท าง ดังนี้
2.3.1 สมมตฐิ านแ บบส องทาง
H0: P(+) = P(—) สำ�หรับท ุกคู่
H1: P(+) ≠ P(—) สำ�หรับท ุกคู่