Page 52 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 52
4-42 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
นอกจากน้ี เวลช์และโคเมอร์ยังแนะน�ำว่าในกรณีท่ีคาดว่าจะได้รับข้อมูลคืนไม่ครบถ้วน การก�ำหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างควรใช้จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างมากกว่าท่ีก�ำหนดจากตาราง เช่น คาดว่ากลุ่มตัวอย่างจะไม่ได้
รับคืน 20 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น ควรเก็บรวบรวมข้อมูลให้มีขนาดมากข้ึนอีก 20 เปอร์เซ็นต์ เช่น ต้องการข้อมูล
จากกลุ่มตัวอย่าง 566 คน และคาดว่าจะได้ข้อมูลไม่ครบ 20 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นควรก�ำหนดขนาดของกลุ่ม
ตัวอย่างเท่ากับ 680 คน (566 + 566 × 210000 = 680 คน)
การเลือกใช้ตารางส�ำเร็จรูปเพ่ือก�ำหนดขนาดสิ่งตัวอย่างในการวิจัยมีปัจจัยที่ต้องพิจารณาหรือ
ก�ำหนดหลายประการ ได้แก่ จ�ำนวนประชากร คุณลักษณะของประชากร ระดับความเช่ือม่ัน และบางตาราง
พิจารณาระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ประกอบด้วยความแตกต่างของตารางก�ำหนดขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างแสดงดังตารางท่ี 4.8
ตารางที่ 4.8 เปรยี บเทียบปัจจยั ทใ่ี ชใ้ นการกำ�หนดขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ งจากตารางสำ�เรจ็ รปู
ปัจจัยทีพ่ ิจารณา ตารางของยามาเน ตารางของเครจซี ตารางของซาแลนท์ ตารางของเวลช์
และมอร์แกน และดิลแมน และโคเมอร์
จ�ำนวนประชากร 500 ข้ึนไป
คุณลักษณะของ 50/50 10 ขึ้นไป 100 ข้ึนไป 1,000 ขึ้นไป
ประชากร 50/50
ระดับความคลาด 50/50 และ 80/20 50/50
เคลื่อนที่ยอมรับได้
ระดับความเช่ือม่ัน °1% ถึง °10% ไม่ระบุ °3%, °5% และ °1% ถึง °5%
95% และ 99% 95% °10% 95%
95%
จากตารางท่ี 4.8 พบว่า
1) เม่ือพิจารณาขนาดของประชากร ตารางของเครจซีและมอร์แกนใช้ได้แม้ประชากรจะมี
ขนาดเล็ก ส่วนตารางของเวลช์และโคเมอร์ใช้กับประชากรขนาด 1,000 ขึ้นไป
2) เม่ือพิจารณาคุณลักษณะของประชากรว่าประชากรมีคุณลักษณะท่ีสนใจเพียงใด ตาราง
ส่วนใหญ่ใช้ค่า 50/50 ซึ่งเป็นกรณีท่ีประชากรมีคุณลักษณะท่ีผู้วิจัยสนใจแตกต่างกันมาก ซ่ึงในกรณีที่
ประชากรมีคุณลักษณะคล้ายคลึงเป็นส่วนใหญ่ ขนาดกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้อาจลดลงได้
3) เมื่อพิจารณาระดับความคลาดเคล่ือนท่ียอมรับได้ ตารางแต่ละตารางมีขนาดความคลาด
เคล่ือนที่ยอมรับได้ไว้ให้เลือกใช้ได้หลายขนาด ยกเว้นตารางของเครจซีและมอร์แกนไม่ได้ระบุไว้
4) เม่ือพิจารณาระดับความเช่ือมั่นของการก�ำหนดขนาดสิ่งตัวอย่าง ตารางส่วนใหญ่ก�ำหนด
ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้นตารางของยามาเนมีระดับความเช่ือมั่นให้เลือก 2 ระดับ คือ 95
และ 99 เปอร์เซ็นต์