Page 53 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 53
การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4-43
การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างอาจก�ำหนดได้โดยการค�ำนวณจากสูตรหรือก�ำหนดจากตาราง
ส�ำเร็จรูป ซ่ึงมีผู้ค�ำนวณจากสูตรไว้แล้วว่าไม่ว่าผู้วิจัยจะก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีใด ตัวเลขขนาด
กลุ่มตัวอย่างท่ีได้เป็นตัวเลขตํ่าสุดท่ีควรใช้ ในการวิจัยผู้วิจัยสามารถเพ่ิมขนาดกลุ่มตัวอย่างให้มากข้ึนได้ ซ่ึง
จะท�ำให้ความคลาดเคลื่อนจากการใช้กลุ่มตัวอย่างลดลง และจะส่งผลให้ผลการวิจัยมีความเช่ือถือมากขึ้น
ในทางตรงกันข้าม ถ้าลดขนาดกลุ่มตัวอย่างให้น้อยลง ความคลาดเคล่ือนอาจมากกว่าที่ก�ำหนดให้ และย่อม
ส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของผลการวิจัย
หลังจากศกึ ษาเนือ้ หาสาระเรอ่ื งที่ 4.3.2 แล้ว โปรดปฏิบัตกิ ิจกรรม 4.3.2
ในแนวการศึกษาหนว่ ยท่ี 4 ตอนที่ 4.3 เรือ่ งที่ 4.3.2
เร่ืองท่ี 4.3.3 การกำ�หนดขนาดกลมุ่ ตัวอย่างโดยใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันมีโปรแกรมส�ำเร็จรูปท่ีช่วยในการค�ำนวณก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยสัมพันธ์กับวิธี
สถิติท่ีใช้วิเคราะห์ข้อมูล และสามารถใช้ค�ำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างได้ท้ังในงานวิจัยแบบส�ำรวจและการวิจัย
แบบทดลอง ซึ่งในเร่ืองนี้จะกล่าวถึงการก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป G*Power
โปรแกรมส�ำเร็จรูป G*Power version 3.1.9.2 ได้พัฒนาข้ึนโดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ์สามารถ down-
load ได้จาก web page ของมหาวิทยาลัย Heinrich-Heine-Universitãt ที่ http://www.gpower.hhu.
de/ และ http://www.psycho.uni-duesseldorf.de/abteilungen/aap/gpower3 สามารถใช้ค�ำนวณ
ขนาดกลุ่มตัวอย่างหรือค�ำนวณอ�ำนาจการทดสอบของสถิติท่ีใช้วิเคราะห์ข้อมูลท่ีต้องการจากเมนูหลัก
ซึ่งมีสถิติให้เลือกใช้ 5 กลุ่ม ได้แก่ t-test, Z-test, F-test, χ2-test และ exact test
1. ประเภทของการวิเคราะห์อำ�นาจการทดสอบ
G*Power สามารถวิเคราะห์อ�ำนาจการทดสอบได้ 5 ประเภท ดังน้ี
1) การวิเคราะห์อ�ำนาจการทดสอบก่อนการวิจัย (a priori power analysis) เป็นการค�ำนวณ
จ�ำนวนกลุ่มตัวอย่าง (N) จากการก�ำหนดค่าอ�ำนาจการทดสอบ (Power of Test: 1 - b) ระดับนัยส�ำคัญทาง
สถิติ a และขนาดอิทธิพล (effect size)
2) การวิเคราะห์อ�ำนาจการทดสอบแบบประนีประนอม (compromise power analysis) เป็นการ
คำ� นวณคา่ อ�ำนาจการทดสอบ (Power of Test: 1 - b) และระดบั นยั สำ� คญั ทางสถติ ิ a จากการก�ำหนดขนาด