Page 49 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 49
การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4-39
ตารางที่ 4.5 (ตอ่ )
ประชากร กลุ่มตัวอยา่ ง ประชากร กลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร กลมุ่ ตัวอย่าง
80 66 420 201 3,500 346
85 70 440 205 4,000 351
90 73 460 210 4,500 354
95 76 480 214 5,000 357
100 80 550 226 6,000 361
120 92 600 234 7,000 364
130 97 650 242 8,000 367
140 103 700 248 9,000 368
150 108 750 254 10,000 370
160 113 800 260 15,000 375
170 118 850 265 20,000 377
180 123 900 269 30,000 379
190 127 950 274 40,000 380
200 132 1000 278 50,000 381
210 136 1100 285 75,000 382
100,000 384
ทม่ี า: Krejcie, R. V. and Morgan, D. W. Determining sample Size for Research Activities. Educational and
Psychological Measurement. 1970, p. 608.
การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างในกรณีท่ีขนาดประชากรท่ีก�ำหนดไม่ตรงกับตัวเลขขนาดประชากร
(N) ตามตารางสามารถก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับประชากรขนาด
ใหญ่กว่าที่อยู่ช้ันติดกัน เช่น ในการวิจัยการศึกษาปัญหาและความต้องการในการเรียนต่อของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่มีประชากร 5,500 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ควรใช้คือ 361 คน เป็นต้น หรืออาจใช้วิธี
การเทียบบัญญัติไตรยางค์ ดังนี้
ถ้าประชากร 5,000 คน ขนาดตัวอย่างตามตารางใช้ 357 คน และถ้าประชากร 6,000 คน ขนาด
ตัวอย่างตามตารางใช้ 361 คน จะเห็นว่า
ประชากรต่างกัน (6,000 — 5,000) 1,000 คน ขนาดตัวอย่างต่างกัน (361 — 357) 4 คน
500
ประชากรต่างกัน (5,500 — 5,000) 500 คน ขนาดตัวอย่างต่างกัน 1,000 × 4 = 2
ดังน้ัน กรณีประชากร 5,500 คน ควรใช้ตัวอย่างอย่างน้อย 359 คน