Page 44 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 44

4-34 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

        แทนค่าในสูตรจะได้

                                  n      =      32(312(—1p—)  p)N
                                                              + Ne2

        หมายเหตุ ในกรณีท่ีก�ำหนดระดับความเช่ือม่ัน 95% และใช้ค่าประมาณของ Z = 2 จะได้สูตรการ

ค�ำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างซึ่งมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าตัวเลขที่ค�ำนวณได้

        จะเห็นว่า การค�ำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรจะให้ขนาดตัวอย่างขั้นตํ่าในการส�ำรวจข้อมูล

แต่ละคร้ัง เม่ือผู้วิจัยส�ำรวจข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างต้องได้รับข้อมูลกลับคืนมาเป็นจ�ำนวนอย่างน้อยตามท่ี

ค�ำนวณได้จากสูตร ดังน้ัน ในกรณีท่ีผู้วิจัยคาดว่าอาจได้ข้อมูลคืนจากกลุ่มตัวอย่างไม่ครบทุกหน่วย อาจ

ก�ำหนดขนาดตัวอย่างให้มากขึ้นตามร้อยละที่คาดว่าจะไม่ได้ข้อมูลคืน เช่น คาดว่ากลุ่มตัวอย่างจ�ำนวน

ประมาณร้อยละ 10 อาจไม่ตอบข้อมูล ดังน้ัน ผู้วิจัยควรเพิ่มขนาดตัวอย่างจากตัวเลขที่ค�ำนวณไว้อย่างน้อย

ร้อยละ 10

        นอกจากน้ี ในกรณีที่นักวิจัยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น สูตรการค�ำนวณ

ขนาดตัวอย่างท่ีกล่าวมาเป็นสูตรท่ีใช้ในกรณีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ซึ่งถ้านักวิจัยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบอื่น

เช่น ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างแต่ละชั้น ต้องด�ำเนินการต่อโดยใช้สูตร

ดังน้ี

           เมื่อ		 Wh   =    NNh            nh   =   nWh

           Wh 	 แทน สัดส่วนของขนาดตัวอย่างในชั้น h
           n 	 แทน ขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
           nh 	 แทน ขนาดตัวอย่างชั้นที่ h
           N 	 แทน ขนาดประชากร
           Nh 	 แทน ขนาดประชากรในช้ันที่ h

       วิธีดังกล่าวมีความเหมาะสมในการหาค่าประมาณของประชากร โดยค�ำนึงถึงน้ําหนักของจ�ำนวน
ประชากรในแต่ละช้ัน แต่ในกรณีท่ีต้องการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของประชากรแต่ละช้ันโดยไม่มีวัตถุประสงค์
ท่ีจะแสดงลักษณะของประชากรโดยรวม อาจก�ำหนดขนาดตัวอย่างในแต่ละชั้นเป็นจ�ำนวนเท่ากัน

           หลังจากศึกษาเนอ้ื หาสาระเร่อื งที่ 4.3.1 แลว้ โปรดปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 4.3.1
                  ในแนวการศึกษาหนว่ ยท่ี 4 ตอนที่ 4.3 เร่อื งท่ี 4.3.1
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49