Page 39 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 39
การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4-29
1.3 ประเภทของการวิจัย ถ้าเป็นการวิจัยแบบไม่ทดลอง โดยเฉพาะการวิจัยเชิงส�ำรวจ ต้องการ
ข้อมูลพ้ืนฐานในเรื่องต่าง ๆ จากประชากร กลุ่มตัวอย่างจึงต้องใช้ขนาดค่อนข้างใหญ่ แต่ถ้าเป็นการวิจัยเชิง
คุณภาพ กลุ่มตัวอย่างอาจมีขนาดเล็กเนื่องจากใช้วิธีการศึกษาในแนวลึก ส�ำหรับงานวิจัยเชิงทดลอง กลุ่ม
ตัวอย่างอาจมีขนาดไม่มาก เนื่องจากมีความจ�ำกัดในเร่ืองของการทดลอง การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างใน
งานวิจัยบางประเภทมีข้อแนะน�ำ ดังน้ี
1.3.1 การวจิ ยั แบบสำ� รวจ ควรก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำ� นวณหรอื ใช้ความ
ส�ำเร็จรูป ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป
1.3.2 การวิจัยแบบทดลอง กลุ่มตัวอย่างควรใช้ไม่น้อยกว่า 30 ส�ำหรับกรณีที่จ�ำเป็นต้องใช้
กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็กกว่า 30 ควรระมัดระวังในการเลือกใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
1.3.3 การวจิ ยั ทใี่ ชส้ ถติ ขิ นั้ สงู ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในงานวจิ ยั ทใี่ ชส้ ถติ ขิ นั้ สงู ในการวเิ คราะห์
ข้อมูล (multivariate analysis) กลุ่มตัวอย่างควรมีขนาดใหญ่พอ คือ มีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 20 กว่าของ
จ�ำนวนตัวแปรที่ศึกษา แต่ในกรณีท่ีมีข้อจ�ำกัดไม่สามารถศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่ได้ กลุ่ม
ตัวอย่างควรมีขนาดไม่น้อยกว่า 5 เท่าของจ�ำนวนตัวแปร
1.3.4 การวิจัยเพื่อพัฒนาเครื่องมือวัดที่เป็นมาตรฐาน ในกรณีการสร้างหรือพัฒนาเคร่ืองมือ
วดั ทเ่ี ปน็ มาตรฐาน เชน่ แบบวดั คณุ ลกั ษณะ แบบวดั ความถนดั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื
หลายคร้ัง เช่น ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างโดยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ หรือมีการหาเกณฑ์ปกติ
(norm) ของเคร่ืองมือวัด การก�ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างต้องพิจารณาจากขนาดตัวอย่างที่จ�ำเป็นต้องใช้ใน
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดแต่ละอย่าง โดยทั่วไปขนาดกลุ่มตัวอย่างในการตรวจสอบคุณภาพ
เคร่ืองมือแต่ละครั้งควรมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 100
การก�ำหนดขนาดตัวอย่างในการวิจัย ต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ประเภทของการวิจัย
งบประมาณการเก็บรวบรวมข้อมูล และคุณภาพของตัวประมาณ โดยมีแนวปฏิบัติในการพิจารณาตามล�ำดับ
ดังนี้
1) พิจารณาประเภทของการวิจัย ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลอง ก�ำหนดขนาดตัวอย่างตามข้อ
แนะน�ำ แต่ถ้าเป็นการวิจัยเชิงส�ำรวจ พิจารณางบประมาณ และคุณภาพของตัวประมาณเป็นอันดับถัดไป
2) พิจารณางบประมาณการเก็บรวบรวมข้อมูล ถ้ามีงบประมาณจ�ำกัด ให้ก�ำหนดขนาด
ตัวอย่างโดยพิจารณาจากงบประมาณท่ีมี ท้ังนี้ ถ้าก�ำหนดขนาดตัวอย่างตามงบประมาณ นักวิจัยต้องยอมรับ
คุณภาพของตัวประมาณท่ีจะได้
3) พจิ ารณาคณุ ภาพของตวั ประมาณ ซง่ึ จะกำ� หนดขนาดตวั อยา่ งไดเ้ มอ่ื ทราบความแปรปรวน
ของประชากร หรือก�ำหนดขนาดตัวอย่างโดยการก�ำหนดขอบเขตความคลาดเคล่ือนที่ยอมรับได้
ส�ำหรับวิธีการก�ำหนดขนาดตัวอย่าง เมื่อพิจารณาจากคุณภาพของตัวประมาณค่า สามารถท�ำได้ 2
วธิ ี คอื การกำ� หนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งโดยใชส้ ตู รคำ� นวณ และการกำ� หนดขนาดตวั อยา่ งโดยใชต้ ารางสำ� เรจ็ รปู