Page 57 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 57

การวัดด้านทักษะพิสัย 7-47

       2.4 	ตรวจสอบคุณภาพของแบบสังเกตก่อนน�ำไปใช้ ท�ำได้โดยให้ผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นผู้ท่ีมีความรู้
เกี่ยวกับการทดลองทางเคมีเร่ืองการตกผลึกจ�ำนวน 3-5 คน เป็นผู้ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหาแล้ว
น�ำมาค�ำนวณค่าดัชนีความสอดคล้องของค�ำถามเก่ียวกับทักษะการปฏิบัติกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และ
เลือกข้อที่มีค่า IOC ต้ังแต่ 0.50 ขึ้นไป พร้อมกับปรับปรุงค�ำถาม เกณฑ์การให้คะแนน และเกณฑ์ประเมิน
ระดับคุณภาพตามค�ำแนะน�ำของผู้เชี่ยวชาญ

       2.5 	น�ำแบบสัมภาษณ์ไปทดลองใช้ เม่ือสร้างแบบสัมภาษณ์เสร็จแล้วควรมีการทดลองใช้กับกลุ่ม
ผู้เรียนที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการศึกษา ในกรณีนี้ควรทดลองใช้กับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ซึ่งเรียนวิชาเคมีจ�ำนวนหนึ่ง ประมาณ 5-10 คน เพื่อตรวจสอบผลการใช้เคร่ืองมือ ถ้าพบ
ปัญหาในการใช้อาจต้องปรับปรุงและทดลองใช้หลายคร้ัง หลังจากนั้นน�ำข้อมูลท่ีได้จากการทดลองใช้ไป
ตรวจสอบคุณภาพซ่ึงจะกล่าวในเร่ืองท่ี 7.3.3

       การสร้างแบบสอบสัมภาษณ์ส�ำหรับใช้เป็นเคร่ืองมือในการวิจัยทางการศึกษาในกรณีอ่ืน ๆ
มีข้ันตอนคล้ายกับตัวอย่างข้างต้น แต่มีรายละเอียดปลีกย่อยท่ีแตกต่างกันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ใน
การสร้างซึ่งสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จากแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ

              หลงั จากศกึ ษาเนอื้ หาสาระเร่อื งที่ 7.3.2 แล้วโปรดปฏิบตั ิกจิ กรรม 7.3.2
                      ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยที่ 7 ตอนท่ี 7.3 เรื่องท่ี 7.3.2

เรอ่ื งท่ี 7.3.3 	การตรวจสอบคณุ ภาพแบบสมั ภาษณ์

       การตรวจสอบคุณภาพแบบสัมภาษณ์ต้องตรวจสอบคุณสมบัติท่ัวไปเช่นเดียวกับเครื่องมือการวิจัย
อื่น ๆ ค�ำถามบางประเภทอาจต้องตรวจสอบความยากของข้อค�ำถามและอ�ำนาจจ�ำแนกเป็นรายข้อ เร่ืองน้ีจะ
กล่าวถึงวิธีการตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณ์โดยไม่แสดงวิธีการค�ำนวณ ซ่ึงคุณสมบัติส�ำคัญที่ต้อง
ตรวจสอบคือ ความตรงและความเที่ยง

1. 	การตรวจสอบความตรงของแบบสัมภาษณ์

       การตรวจสอบความตรงของแบบสัมภาษณ์ที่ใช้ในการวิจัยทางการศึกษาท่ัวไปนิยมตรวจสอบความ
ตรงเชิงเนื้อหา แต่แบบสัมภาษณ์ท่ีใช้ในการวัดด้านทักษะพิสัยให้ความส�ำคัญกับความตรงเชิงเนื้อหา
ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ และความตรงเชิงโครงสร้าง ซึ่งจะกล่าวโดยสรุปดังนี้
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62