Page 26 - การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 26
12-16 การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
หรือแบบ3ท.ด3ส หอาบกใผหล้เหกมาราทะสดมสอหบาปกรยะังสไดทิ ้ผธภิลาเหพมEือ1น/Eเด2ิมสงูผกู้ววิจา่ ัยหตรอื้อตงเาํ่ พก่ิมวา่ห°รือ2ล.5ด%เกผณวู้ ฑจิ ยั ์ ตอ้ งปรบั ปรงุ กจิ กรรม
3.4 ห้ามแปลผลว่ามีประสิทธิภาพสูงหรือต่ํากว่าเกณฑ์ ให้แปลว่า มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่
ก�ำหนดการแปลค่าประสิทธิภาพ E1/E2 แสดงดังตาราง
ตารางท่ี 12.2 ประสทิ ธิภาพของชุดการเรยี นด้วยคอมพวิ เตอรผ์ ่านเครอื ข่าย วิชา งานเก็บเอกสาร
เรือ่ ง การจดั เก็บเอกสาร จากการทดลองแบบภาคสนาม (n = 31)
หนว่ ยที่ คะแนนกิจกรรมระหว่างเรียน คะแนนแบบทดสอบหลงั เรยี น
(แบบฝกึ หดั )
2 E1 E2 E1/E2
11
14 คะแนนเตม็ รอ้ ยละ คะแนนเตม็ ร้อยละ 80.43/80.32
80.86/80.00
15 80.43 10 80.32 80.64/80.96
15 80.86 10 80.00
15 80.64 10 80.96
จากตารางท่ี 12.2 พบว่าประสิทธิภาพของชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชา งานเก็บ
เอกสาร เร่ือง การจัดเก็บเอกสาร หน่วยท่ี 2, 11 และ 14 จากการทดสอบกับนักเรียนแบบภาคสนามมี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 80/80 ดังนี้ 80.43/80.32, 80.86/80.00 และ 80.64/80.96
4. การแปลผลค่าเฉล่ีย (X)
4.1 การน�ำเสนอตารางค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ควรใส่ (n = …) บนหัวตารางด้วย เพ่ือ
บอกให้ทราบว่าการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค�ำนวณจากกลุ่มตัวอย่างจ�ำนวนเท่าไร และควร
น�ำเสนอค่าเฉล่ีย (X) ควบคู่กับส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ด้วย
ส่วนการแปลผลค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานนิยมแปลเฉพาะค่าเฉลี่ยเท่าน้ัน ไม่นิยมแปล
สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน แตน่ ำ� เสนอมาใหเ้ พอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นดกู ารกระจายคำ� ตอบวา่ มคี วามแตกตา่ งกระจดั กระจาย
มากน้อยเพียงใด (หากพบค่า S.D. มีค่ามากกว่า X ควรน�ำไปใช้ประกอบอภิปรายผลการวิจัยด้วย)
4.2 ในการแปลความหมายข้อมูลที่เป็นค่าเฉล่ีย จะต้องก�ำหนดเกณฑ์ในการแปลผลก่อน ซึ่งโดย
ทั่วไปนิยมก�ำหนดเกณฑ์ ดังนี้