Page 29 - การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 29
สถิติเพื่อการวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 12-19
ตารางท่ี 12.5 การเปรียบเทยี บความพึงพอใจในการปฏบิ ัตงิ านดา้ นเทคโนโลยี
และสอื่ สารการศึกษาระหวา่ งเพศชายและเพศหญงิ (n = 30)
เพศ n X S.D. t p
ชาย
หญิง 10 23.50 0.79 1.89 .790
20 19.50 1.71
p < .05
จากตารางที่ 12.5 พบว่าเพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษาไม่แตกต่างกัน
6. การแปลผลการวเิ คราะห์ความแปรปรวน (ANOVA)
6.1 ถ้าผลการทดสอบไม่พบนัยส�ำคัญทางสถิติ ให้แปลว่าไม่แตกต่างกัน และไม่ต้องเปรียบเทียบ
ความแตกต่างเป็นรายคู่
6.2 ถ้าผลการทดสอบพบนยั สำ� คญั ทางสถิติ ใหแ้ ปลว่ามีความแตกต่างกันอยา่ งมนี ยั ส�ำคญั ทางสถติ ิ
ท่ีระดับ .05 หรือ .01 และจะต้องท�ำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของ Tukey หรือ Scheffè หรือ Newman
– Kuels
โดยปกติ การค�ำนวณ ANOVA นิยมใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS ค�ำนวณ และนิยมใส่ค่า Sig
หรือ p ลงในตารางเพ่ือให้ผู้อ่านเห็นว่า ถ้าค่า p < 0.5 แปลว่ามีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จากน้ันจึง
ท�ำการทดสอบรายคู่ ดังตารางท่ี 12.6
ตารางท่ี 12.6 การเปรียบเทียบความสามารถด้านบรหิ ารจดั การของนักเทคโนโลยีการศึกษา
จำ�แนกตามประสบการณใ์ นการทำ�งาน (n = 211)
แหลง่ ความแปรปรวน df SS MS F p
3 5,769.52 1,923.17 5.92* .000
ระหว่างกลุ่ม
ภายในกลุ่ม 207 67,275.58 325.00
รวม 210 73,045.10
*p < .05
จากตารางที่ 12.6 พบว่านักเทคโนโลยีการศึกษาที่มีประสบการณ์ในการท�ำงานต่างกัน มีความ
สามารถด้านการบริหารจัดการแตกต่างกันท่ีระดับนัยส�ำคัญทางสถิติ .05 จึงท�ำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการ
ของ Scheffè ดังตารางที่ 12.7