Page 12 - ไทยศึกษา
P. 12
๑-2 ไทยศึกษา
แผนการสอนประจ�ำหน่วย
ชดุ วชิ า ไทยศกึ ษา
หน่วยท่ี ๑ แนวคดิ ในการศกึ ษาสังคมและวฒั นธรรมไทย
ตอนท่ี
๑.๑ ลกั ษณะของสังคมและวัฒนธรรมโดยทั่วไป
๑.๒ ขอบเขตและลักษณะของสังคมและวฒั นธรรมไทย
๑.๓ ปัจจยั ที่กำ� หนดลักษณะของสงั คมและวฒั นธรรมไทย
แนวคิด
๑. “สังคม” คือ กลุ่มคนท่ีด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ในสถานท่ีและเวลาท่ีก�ำหนดรู้ได้
“วัฒนธรรม” คือ แบบอย่างการด�ำเนินชีวิตของคนที่อยู่กันเป็นสังคม ประกอบด้วยอุปกรณ์
วธิ กี าร และความคดิ ความเชอ่ื ทสี่ รา้ งและใชร้ ว่ มกนั ลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมจงึ ขน้ึ อยกู่ บั
ปจั จยั ทเ่ี กย่ี วกับคนและอปุ กรณว์ ธิ ีการทใี่ ช้ดำ� รงชีวติ ในหม่คู ณะนั้น
๒. สังคมและวัฒนธรรมไทยมีขอบเขตและลักษณะทเี่ ปลีย่ นแปลงไดต้ ามกาลเทศะ มหี ลกั เกณฑ์
และวิธีการที่จะก�ำหนดขอบเขตและลักษณะสังคมและวัฒนธรรมอยู่หลายอย่าง การบรรยาย
เรอ่ื งราวของสงั คมและวฒั นธรรมไทยใหค้ รบถว้ น สมบรู ณท์ กุ สว่ นและทกุ ยคุ สมยั จงึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ย
๓. ส งั คมและวฒั นธรรมไทยมลี กั ษณะทเี่ ปลยี่ นแปลงไปไดใ้ นยคุ สมยั ทต่ี า่ งกนั เพราะปจั จยั สำ� คญั
ไดแ้ ก่ จำ� นวน ประเภท และความสมั พนั ธข์ องบคุ คล สภาพแวดลอ้ มของสงั คม ความรคู้ วามสามารถ
ของคนไทย และความต้องการพอใจของคนไทยในการมีชวี ติ ร่วมกัน
วัตถุประสงค์
เมื่อศกึ ษาหนว่ ยท่ี ๑ จบแลว้ นกั ศกึ ษาสามารถ
๑. อธบิ ายความหมายและลกั ษณะของสงั คมและวฒั นธรรมโดยทัว่ ไปได้
๒. อ ธิบายหลักเกณฑ์และวิธีการที่ใช้ในการบรรยายเรื่องราวของสังคมและวัฒนธรรมไทยใน
ขอบเขตและลกั ษณะตา่ งๆ ได้
๓. อ ธิบายประเภทของปัจจัยท่ีก�ำหนดลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมไทยท่ีปรากฏในยุคสมัย
ต่างๆ จากอดีตจนถงึ ปจั จบุ นั ได้