Page 15 - ไทยศึกษา
P. 15
แนวคดิ ในการศึกษาสงั คมและวัฒนธรรมไทย ๑-5
เร่ืองที่ ๑.๑.๑
แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมโดยท่ัวไป
ปรากฏการณอ์ ยา่ งหนง่ึ ของชวี ติ อนั เปน็ ทเ่ี คยชนิ ของทกุ คนคอื การทค่ี นอยรู่ ว่ มกบั ผคู้ นอนื่ จำ� นวนหนง่ึ
ตลอดเวลา ในบรเิ วณสถานทท่ี เ่ี ปน็ ภมู ลิ ำ� เนาเดยี วกนั และกบั ผคู้ นจำ� นวนน้ี ตา่ งมกี ารสอ่ื สารความคดิ ความ
ต้องการ มกี ารกระทำ� เสนอสนองความตอ้ งการของกนั และกัน ซ่งึ ยดึ เยอื้ ตอ่ เนื่องเปน็ ความสมั พนั ธ์ มสี ิทธิ
หน้าที่ต่อกันท่ีรู้และคาดหมายได้ล่วงหน้า และจากการกระท�ำและความสัมพันธ์ท่ีมีสม่�ำเสมอต่อกันเช่นน้ี
ท�ำใหม้ คี วามรสู้ กึ ผกู พนั เปน็ กลุม่ เป็นพวกเดยี วกนั ท่ตี ่างไปจากกลมุ่ หรือพวกอ่นื
กลมุ่ สงั คมเชน่ นที้ แี่ ตล่ ะคนคนุ้ เคยสนทิ สนมและผกู พนั มากทสี่ ดุ คอื ครอบครวั กลมุ่ ทกี่ วา้ งออกไป
รวมผู้ท่ีเรียกว่า เพ่ือนและเพื่อนบ้าน ถ้าในชุมชนมีผู้อื่นนอกเหนือไปจากญาติมิตรและเพื่อนบ้านใกล้ชิด
คุ้นเคย ซ่ึงเป็นคนท่ีมธี ุระการงานท่ีเก่ียวข้องด้วยในกิจการด้านต่างๆ ของชวี ติ เช่น การท�ำมาหากิน การ
ซื้อขายแลกเปล่ียน การเจ็บไข้ได้ป่วยท่ีต้องอาศัยบริการกัน การบริหารปกครอง การพักผ่อนบันเทิง
การเคารพบูชาทางศาสนาและพธิ กี รรม ฯลฯ ถ้าผ้คู นทั้งหลายนี้สามารถสือ่ สารกนั ได้ด้วยภาษาเดยี วกนั ท่ี
ทุกคนเข้าใจ มีการกระท�ำต่อกันตามระเบียบแบบแผนอย่างเดียวกันท่ีทุกคนยึดถือปฏิบัติ และพอใจใน
ประโยชน์ท่ีต่างคนต่างได้รับ เป็นการเสนอสนองกัน ยินดีท่ีจะมีชีวิตร่วมกันเป็นหมู่คณะหรือพวกพ้อง
เดยี วกนั มากกวา่ จะรสู้ กึ อยรู่ ว่ มกบั หมคู่ ณะอน่ื กลมุ่ เชน่ นท้ี เี่ ปน็ ปรากฏการณส์ ามญั ของชวี ติ มนษุ ย์ นกั วชิ าการ
สมมตคิ �ำใหใ้ ช้เรยี กวา่ สงั คม
กลมุ่ ทเ่ี รยี กเปน็ “สงั คม” เชน่ น้ี ปกตจิ ะมอี ปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารทใ่ี ชเ้ ปน็ แบบอยา่ งหรอื ระบบระเบยี บ
เดียวกันในการด�ำเนนิ ชีวิตร่วมกันเปน็ หมูค่ ณะน้นั เช่น มภี าษาเดียวกันทีก่ ำ� หนดชอ่ื ให้แก่สง่ิ ตา่ งๆ ท่ตี ้อง
รว่ มรแู้ ละรว่ มใชก้ นั ทำ� ใหส้ มาชกิ ของกลมุ่ ทใี่ ชภ้ าษาเดยี วกนั สามารถสอื่ สารความรสู้ กึ นกึ คดิ ความตอ้ งการ
และความเชอื่ แกก่ นั ได้ มเี ครอื่ งมอื เครอื่ งใชท้ เ่ี ปน็ วสั ดอุ ปุ กรณท์ ำ� งานสนองความตอ้ งการของชวี ติ มรี ะเบยี บ
วิธีการ กฎเกณฑ์ และแบบแผนส�ำหรับการท�ำงานหรือการประพฤติปฏิบัติต่อกันและกัน และมีความรู้
ความคิด ความเช่ือเกี่ยวกับสงิ่ ตา่ งๆ ท่ีจำ� เป็นตอ้ งใช้ในการดำ� รงชวี ติ รว่ มกัน ทง้ั หมดนี้เป็นแบบอย่างหรอื
มาตรฐานทส่ี มาชกิ ของกลมุ่ รว่ มรเู้ ขา้ ใจและรบั ไวใ้ ชด้ ว้ ยกนั รวมเปน็ ลกั ษณะวถิ ชี วี ติ เดยี วกนั ของกลมุ่ นนั้ ที่
เหน็ ไดว้ า่ แตกตา่ งจากลกั ษณะวถิ ชี วี ติ ของกลมุ่ อนื่ แบบอยา่ งการดำ� เนนิ ชวี ติ รว่ มกนั ทเี่ ปน็ วถิ ชี วี ติ ของสงั คม
เดยี วกนั นี้ นกั วิชาการสมมติค�ำใหใ้ ช้เรยี กวา่ วฒั นธรรม
เพราะฉะนน้ั ถา้ ตกลงใชศ้ พั ทท์ ง้ั ๒ คำ� นเ้ี พอ่ื ความสะดวก กจ็ ะไดค้ วามสนั้ ๆ อยา่ งสงั เขปวา่ กลมุ่ คน
ทีอ่ ยูด่ ว้ ยกนั เป็นพวกพอ้ งหรือหมูค่ ณะเดียวกนั เป็น “สังคม” หน่ึงนน้ั ยอ่ มมแี บบอย่างการดำ� เนินชีวติ รว่ ม
กนั ท่ีประกอบด้วยเครือ่ งมอื อุปกรณ์ ระเบยี บวิธีการและความคดิ ความเช่ือท่เี ป็นระบบระเบยี บแบบแผน
หรือมาตรฐานเดยี วกัน อันเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของวถิ ีชวี ติ ของคนกล่มุ เดียวกันน้นั คือ “วัฒนธรรม” ดว้ ย
เหตนุ ้ี “สงั คม” และ “วฒั นธรรม” จงึ เปน็ ของคกู่ นั มี “สงั คม” กต็ อ้ งมี “วฒั นธรรม” ในความหมายวา่ คน
ทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั เปน็ กลมุ่ เดยี วกนั มแี บบอยา่ งการดำ� เนนิ ชวี ติ รว่ มกนั ทเ่ี ปน็ ลกั ษณะเฉพาะหรอื วถิ ชี วี ติ ของกลมุ่
นนั้ ที่เห็นชัดแยกไดจ้ ากแบบอย่างหรอื วถิ ีชวี ิตของกลมุ่ อน่ื