Page 20 - ไทยศึกษา
P. 20

๑-10 ไทยศึกษา
ต่อกัน ลักษณะความสัมพันธ์ของบุคคลเหล่าน้ันก็จะอยู่ในกรอบของบรรทัดฐานเหล่านั้นด้วย ซึ่งผู้สนใจ
สงั เกตจะรไู้ ดจ้ ากธรรมเนยี มชาวบา้ น จารตี ประเพณี หรอื กฎหมายในสงั คมนน้ั ๆ ทใ่ี หบ้ รรทดั ฐานวา่ บคุ คล
ประเภทใดจะมกี ารกระท�ำและความสัมพนั ธก์ ันไดใ้ นลักษณะใด

       การกระทำ� และความสมั พนั ธท์ ล่ี ะเมดิ หรอื ละเลยบรรทดั ฐานทส่ี งั คมก�ำหนดไวน้ ้ี หากสงั คมไมส่ ามารถ
ควบคุมบังคับให้อยู่ในกรอบท่ีก�ำหนดไว้ได้ ในท่ีสุดก็จะท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงบรรทัดฐานจากเดิม
เป็นอย่างใหม่ ท�ำให้ลักษณะของสังคมน้ันเปลี่ยนตามไปด้วย เช่น แต่เดิมสังคมก�ำหนดบรรทัดฐานไว้ว่า
ลูกต้องท�ำตามความปรารถนาของพ่อแม่ ผู้น้อยต้องอยู่ในโอวาทค�ำสั่งของผู้ใหญ่ ผู้บริหารมีอ�ำนาจ
สทิ ธขิ าดสมบรู ณเ์ หนอื ผถู้ กู ปกครอง ฯลฯ สงั คมนน้ั กจ็ ะมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งหนงึ่ ตอ่ มาภายหลงั บคุ คลทต่ี อ้ ง
เกย่ี วขอ้ งกนั นน้ั เบยี่ งเบนไปจากบรรทดั ฐานทกี่ ำ� หนดไว้ และสงั คมไมส่ ามารถรกั ษาบรรทดั ฐานเดมิ ใหผ้ คู้ น
ปฏบิ ตั ติ ามได้ ลกู ท�ำตามอ�ำเภอใจของตัวเอง ผูน้ อ้ ยไม่เชอ่ื ฟังคำ� สง่ั ของผ้ใู หญ่ ผู้บรหิ ารไม่มีอ�ำนาจสั่งการ
ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ฯลฯ กจ็ ะเกดิ รปู แบบการกระท�ำและความสมั พนั ธก์ นั ในลกั ษณะใหม่ เทา่ กบั ทำ� ใหล้ กั ษณะ
ของสังคมนน้ั เปลย่ี นไป

       เพราะฉะนนั้ การพิจารณาลกั ษณะสังคมและวฒั นธรรมใดกต็ าม ส่งิ แรกทีท่ �ำใหเ้ กดิ มสี งั คมข้ึนได้
คอื คนจ�ำนวนหนึ่งท่ีมาอยู่ร่วมกนั ก็จรงิ แตจ่ ำ� นวนอยา่ งเดยี วไมม่ ีความหมายท่เี ป็นประโยชนน์ ัก หากไมร่ ู้
ประเภทต่างๆ ของคนเหล่าน้ัน และเมื่อรู้ประเภทแล้วก็ควรต้องรู้ลักษณะการกระท�ำและความสัมพันธ์
ท่ีคนประเภทต่างๆ น้ันมีต่อกันด้วย แต่การกระท�ำที่คนเหล่าน้ันกระท�ำต่อกันย่อมเป็นไปเพื่อการอยู่ร่วม
กนั ในอาณาบรเิ วณหนงึ่ ทก่ี ลมุ่ นนั้ ยดึ ครองอยู่ และการกระทำ� สว่ นหนงึ่ จะเปน็ การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร
และสภาพแวดลอ้ มของบรเิ วณนน้ั เพื่อการด�ำรงชวี ติ ของบคุ คลและของหม่คู ณะน้นั และการกระท�ำเหลา่ นี้
จะตอ้ งตกลงแบง่ ปนั ประโยชนใ์ นหมผู่ ทู้ จี่ ะตอ้ งใชท้ รพั ยากรและสภาพแวดลอ้ มเดยี วกนั นน้ั โดยมเี ครอ่ื งมอื
อุปกรณ์ วธิ กี ารที่คนในกลมุ่ นัน้ ท�ำข้นึ หรือหามาไดเ้ พ่ือใชร้ ว่ มกนั

       ดังนั้น สงิ่ ตอ่ ไปนท้ี ี่ต้องพจิ ารณาด้วยคือ สภาพแวดล้อมของชวี ิตทจ่ี ะอยู่ร่วมกัน แล้วหลังจากนั้น
จงึ พจิ ารณาอุปกรณแ์ ละวิธกี ารทคี่ นกลมุ่ นน้ั ใชเ้ พือ่ ดำ� รงชวี ติ รว่ มกนั ในสภาพแวดลอ้ มน้ัน

๒. 	สภาพแวดล้อมของชีวิตที่จะอยู่ร่วมกัน

       คนแตล่ ะคนมชี วี ติ อยูใ่ นกาละหนง่ึ และเทศะหน่ึงเสมอ คอื ร่างกายตัวตนต้องมีสถานทีบ่ รเิ วณซึ่ง
เจ้าของชีวิตนั้นครอบครองอยู่ ให้ชีวิตอ่ืนใช้ไม่ได้ ถ้าให้สถานท่ีนั้นไป ตนเองก็ต้องหาสถานท่ีใหม่เข้า
ครอบครองแทน แตก่ ารครอบครองสถานทห่ี รอื บรเิ วณเชน่ นก้ี เ็ ปน็ ไปในชว่ งระยะเวลาหนงึ่ เทา่ ทช่ี วี ติ ยงั มอี ยู่
จบสิ้นชีวิตเม่ือไรก็ไม่ต้องการสถานท่ีนั้นเป็นระยะเวลาเท่าใดอีก กาละและเทศะจึงเป็นสองมิติท่ีแยกจาก
ชวี ิตไมไ่ ด้ แตช่ ีวิตจะครอบครองสถานทีใ่ ด เปน็ ระยะเวลานานเท่าใด กข็ นึ้ อย่กู ับเงื่อนไขต่างๆ อีกหลาย
ประการ เช่น ครอบครองสภาพทีห่ น่ึงไดน้ านเท่าท่รี ่างกายยงั มกี ำ� ลังวงั ชาท่จี ะรกั ษาบรเิ วณท่รี า่ งกายตอ้ ง
ใชส้ ถานทนี่ นั้ อยู่ หรอื นานเทา่ ทไ่ี มม่ ชี วี ติ และรา่ งกายอนื่ เขา้ มาแยง่ ชงิ สถานทนี่ นั้ หรอื ถงึ มชี วี ติ อนื่ มาแยง่ ชงิ
เจา้ ของบรเิ วณเดมิ กต็ า้ นทานขบั ไลไ่ ปได้ หรอื สดุ ทา้ ยถงึ ไมม่ ใี ครมาแยง่ ชงิ แตเ่ จา้ ของทใ่ี ชอ้ ยเู่ กดิ เบอ่ื หนา่ ย
ไมต่ ้องการอยูบ่ ริเวณนั้นอีกตอ่ ไป ก็เคล่ือนยา้ ยไปครอบครองบริเวณใหม่ในชว่ งเวลาถดั ไป
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25