Page 24 - ไทยศึกษา
P. 24

๑-14 ไทยศกึ ษา
กระบวนการชีวิตของแต่ละสังคม ก็จะปรากฏเป็นลักษณะและมีความหมายต่อชีวิตและต่อสังคมเจ้าของ
เหตกุ ารณท์ ไ่ี มเ่ หมอื นกนั เชน่ ในชวี ติ ของคน ๒ คน อาจเคยประสบเหตกุ ารณไ์ ฟไหมบ้ า้ น แตเ่ หตกุ ารณน์ น้ั
คงจะไม่เกิดในขั้นตอนและสถานการณ์ของชีวิตท่ีเหมือนกันได้ท้ังหมด เหตุการณ์น้ันจึงมีลักษณะและ
ความหมายตอ่ ชวี ติ ของแตล่ ะคนไมเ่ หมอื นกนั สงั คมกเ็ ชน่ กนั อาจเคยประสบกบั การสงครามหรอื ทพุ ภกิ ขภยั
ดว้ ยกนั ทัง้ คู่ แตเ่ มื่อพจิ ารณาในล�ำดับขั้นตอนชวี ติ ของแต่ละสงั คมแลว้ กเ็ ปน็ ส่วนประกอบของชวี ิตทมี่ ีผล
ตา่ งกนั ประวตั ขิ องแตล่ ะสงั คมซง่ึ เปน็ ลำ� ดบั เหตกุ ารณต์ ามชว่ งเวลาของชวี ติ สงั คมนน้ั จงึ มสี ว่ นกำ� หนดลกั ษณะ
เฉพาะของสงั คมนั้นที่ไมเ่ หมอื นกบั สังคมอ่นื

๓. 	อุปกรณ์และวิธีการท่ีใช้ในการด�ำรงชีวิตร่วมกัน

       หากจะดคู นกลมุ่ ใดทอี่ ยรู่ ว่ มกนั ในสภาพแวดลอ้ มของชวี ติ อยา่ งใด ทไี่ หน เมอ่ื ไรกต็ าม กจ็ ะเหน็ วา่
กลมุ่ คนนนั้ มอี ปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารทใ่ี ชร้ ว่ มกนั เพอื่ การดำ� เนนิ ชวี ติ และอปุ กรณว์ ธิ กี ารของกลมุ่ หนง่ึ จะไมเ่ หมอื น
กบั ของผอู้ น่ื โดยสนิ้ เชงิ ทกุ ประการ ในกลมุ่ เดยี วกนั นถ้ี งึ จะอยใู่ นบรเิ วณสถานทเ่ี ดมิ แตใ่ นชว่ งเวลาทต่ี า่ งกนั
ก็อาจใช้อุปกรณ์ วิธีการต่างไป และกลุ่มคนเดียวกันน้ันหากไปอยู่ในบริเวณสถานที่ต่างไป ก็อาจตอ้ งใช้
อปุ กรณ์ วธิ กี ารทต่ี า่ งไปดว้ ย เพราะสภาพและเงอื่ นไขของบรเิ วณสถานทใ่ี หมท่ ไ่ี มเ่ หมอื นบรเิ วณเดมิ

       การดำ� รงอยขู่ องชวี ติ ของพชื และสตั ว์ (รวมทง้ั มนษุ ยด์ ว้ ย) คอื การปรบั ตวั ของอนิ ทรยี น์ น้ั ใหเ้ ขา้ กบั
สภาพแวดลอ้ มของชีวติ หรอื ปรับสภาพแวดลอ้ มของชีวติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของอินทรีย์น้นั

       ในกรณขี องพชื และสตั วโ์ ดยทว่ั ไป เจา้ ของชวี ติ หรอื อนิ ทรยี น์ น้ั มแี ตอ่ วยั วะธรรมชาติ ซงึ่ มลี กั ษณะ
ความสามารถและประสทิ ธภิ าพเฉพาะทางตามแตป่ ระเภทของชวี ติ นนั้ เชน่ ตน้ ไมม้ รี ากดดู อาหารทล่ี ะลาย
นำ�้ ไดจ้ ากดนิ และมใี บทส่ี งั เคราะหแ์ สงปรงุ อาหารเลยี้ งตน้ ทคี่ งอยแู่ ละเตบิ โต แตเ่ คลอื่ นทตี่ ามหาอาหารไมไ่ ด้
ปลาหายใจในนำ้� ไดด้ ว้ ยเหงอื ก ซงึ่ ไรป้ ระโยชนถ์ า้ อยบู่ นบก สตั วบ์ กมปี อดเปน็ อวยั วะหายใจ ซง่ึ ชว่ ยควบคมุ
อณุ หภมู ขิ องโลหติ ใหอ้ นุ่ พอดตี ามสภาพความตอ้ งการของชวี ติ แตล่ ะประเภทนนั้ แตป่ อดไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
ถา้ เจา้ ของชวี ติ ไปอยใู่ นนำ�้  สตั วต์ า่ งๆ ชนดิ มอี วยั วะและวธิ กี ารหาอาหารเลย้ี งชวี ติ ตา่ งไปจากพชื และตา่ งกนั
ในหมูส่ ตั ว์เองดว้ ย

       ไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ชนิดใด ถ้าตกอยู่ในสภาพแวดล้อมท่ีต่างไปและไม่สอดคล้องกับสภาพ
ความต้องการและความสามารถของชีวิตประเภทน้ีแล้ว หากปรับตัวหรือปรับอวัยวะและวิธีการที่เป็น
ลักษณะธรรมชาติเฉพาะของตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ไม่ได้ ก็จะตายแล้วสูญพันธุ์ไป ด้วยปกติ
ไม่ปรากฏว่าพืชและสัตว์สามารถปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้สอดคล้องกับลักษณะของชีวิตตนได้
นอกจากการกระทำ� เลก็ ๆ นอ้ ยๆ ทเ่ี ปน็ ความสามารถตามธรรมชาตเิ ฉพาะตวั ของชวี ติ ชนดิ นนั้ ๆ เชน่ การ
สรา้ งรงั ของนกเพ่อื การออกไข่ ฟักไข่และเล้ยี งลกู หรือการสรา้ งท�ำนบดว้ ยเศษไมข้ องตัวนาก ฯลฯ

       การปรบั สภาพแวดลอ้ มเชน่ นี้ อาจเปรยี บไดก้ บั การสรา้ งบา้ นเรอื นทอ่ี ยอู่ าศยั ของมนษุ ย์ แตม่ คี วาม
แตกต่างกันว่า สัตว์สร้างรังได้โดยสัญชาตญาณในรูปแบบท่ีไม่เคยเปล่ียนแปลงเลย ไม่ว่าจะก่ีช่ัวรุ่นอายุ
และไม่อาศัยเคร่ืองมืออุปกรณ์อะไรก็คืออวัยวะธรรมชาติของตัวเอง เช่น ปากและเท้า มนุษย์สร้างที่อยู่
อาศัยท่ีเปล่ียนแปลงรูปแบบมาตลอดเวลา เพราะสามารถคิดเปลี่ยนแปลงทั้งรูปแบบ วัสดุ และวิธีการที่
แตกตา่ งไปจากของบรรพบรุ ษุ ได้ การสรา้ งทำ� กไ็ มไ่ ดใ้ ชแ้ ตอ่ วยั วะธรรมชาตทิ ตี่ ดิ ตวั มาแตก่ ำ� เนดิ มกั อาศยั
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29