Page 27 - ไทยศึกษา
P. 27

แนวคิดในการศึกษาสังคมและวฒั นธรรมไทย ๑-17
       แบบอยา่ งชีวติ ความเปน็ อย่ขู องคนกลุม่ หนง่ึ หรือสังคมหน่ึง ซึ่งเรียกเปน็ “วฒั นธรรม” นน้ั เป็น
หนุ้ สว่ นสงู ของอปุ กรณว์ ธิ กี ารทค่ี นรนุ่ กอ่ นๆ ของกลมุ่ นน้ั ใชป้ ระโยชนส์ ำ� หรบั การดำ� รงชวี ติ มาแลว้ ในสภาพ
แวดล้อมน้ันท่ีตนมีความสุขและพอใจ ถ้าสภาพแวดล้อมของชีวิตอยู่คงท่ีไม่เปล่ียนแปลงเลย จ�ำนวนและ
ประเภทของคนทอี่ ยกู่ นั กเ็ หมอื นเดมิ ความรคู้ วามสามารถของคนทเ่ี ปน็ เจา้ ของชวี ติ นนั้ ในการทจี่ ะปรบั ตวั
เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มหรอื ปรบั สภาพแวดลอ้ มเขา้ กบั ตวั กค็ งทไี่ มม่ เี พม่ิ หรอื ลด และความตอ้ งการพอใจของ
คนคนนั้นที่จะด�ำรงชีวิตในแบบอย่างเช่นน้ันด้วยอุปกรณ์และวิธีการอย่างนั้นก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเป็น
อยา่ งอน่ื สงั คมและวัฒนธรรมน้นั เคยเป็นมาอย่างไรกจ็ ะเปน็ ตอ่ ไปอย่างนั้นตลอดไป
       แต่ถ้าส่วนใดส่วนหน่ึงเป็นปัจจัยประกอบกันน้ันเปลี่ยนแปลงไป โอกาสที่จะต้องปรับปรุงส่วนอื่น
ทเ่ี กี่ยวเนือ่ งให้สอดคลอ้ งกจ็ ะต้องเปล่ยี นแปลงตามไป เพอื่ ใหช้ ีวิตของคนกลมุ่ น้นั ดำ� รงอยูต่ ่อไปได้
       ถา้ สภาพแวดลอ้ มธรรมชาตเิ ปลยี่ นไปเอง ทำ� ใหม้ ที รพั ยากรธรรมชาตเิ พมิ่ ขนึ้ หรอื ลดลง ทงั้ ในเชงิ ปรมิ าณ
และคณุ ภาพ หรอื ภมู อิ ากาศเปลยี่ นแปลงทำ� ใหอ้ ณุ หภมู แิ ละฤดกู าลผา่ นพน้ ไปจากปกติ หรอื สภาพแวดลอ้ ม
ที่มนุษย์มีส่วนเข้ามาท�ำให้คลาดเคล่ือน เช่น ใช้ทรัพยากรจนหมดไปด้วยการบริโภคอุปโภค หรือเพิ่ม
ทรัพยากรด้วยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เพ่ิมแร่ธาตุและน�้ำในดิน ฯลฯ เปล่ียนไปจากเดิม ถึงแม้คนจะมี
จำ� นวนและประเภทเทา่ เดมิ กค็ งใชท้ รพั ยากรและสถานทแี่ วดลอ้ มไดไ้ มเ่ หมอื นเดมิ กต็ อ้ งหาทางขยบั ขยาย
ให้การด�ำรงชีวิตในที่น้ันได้ดุลยภาพขึ้นใหม่ หากไม่มีความรู้ความสามารถจัดการควบคุมทรัพยากรและ
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ก็คงต้องเคล่ือนย้ายอพยพไปหาที่อยู่ใหม่ที่มีเงื่อนไขสภาพแวดล้อมของเดิม
เร่ิมแรก จะไดใ้ ชอ้ ปุ กรณว์ ธิ กี ารเดมิ ทเ่ี คยไดผ้ ลกนั ตอ่ ไป แตถ่ า้ สภาพแวดลอ้ มเปลยี่ นไป แลว้ คนกลมุ่ นนั้ มี
ความรคู้ วามสามารถใหม่ที่ไม่เคยมีก่อนมาแก้ไขสถานการณ์ได้ ความรู้ใหม่น้ีอาจท�ำให้เกิดอุปกรณ์และ
วิธกี ารใหม่ๆ เปน็ เครือ่ งมอื มาจัดการกับสภาพแวดล้อมท่เี ปล่ยี นไปได้
       ถ้าลองคิดต่อไปในแนวน้ี ก็พอจะเห็นได้ว่า ถ้าปัจจัยใดเปลี่ยนแปลงไป ก็คงมีผลท�ำให้เกิดการ
เปลยี่ นแปลงหรอื ปจั จยั อน่ื ไดเ้ ชน่ กนั ถา้ จำ� นวนคนเพม่ิ หรอื ลด ความตอ้ งการใชท้ รพั ยากรตามความจำ� เปน็
ของชีวติ ก็เพิ่มขน้ึ หรอื ลดตามไป แม้ว่าจ�ำนวนอาจดูเหมือนเดมิ แต่ถา้ ประเภทเปล่ียนไป เช่น มอี ัตราส่วน
ของเยาวชนมากกว่าคนวัยฉกรรจ์ หรือมีคนชรามากขึ้นในขณะท่ีเยาวชนลดลง เพราะคนแก่อายุยืนข้ึน
และเด็กเกดิ น้อยลงด้วยการคุมกำ� เนิด การวางแผนประชากร ฯลฯ ความตอ้ งการจำ� นวนและประเภทของ
ทรัพยากรก็เปลี่ยนแปลงตาม นอกจากนั้น การก�ำหนดประเภทของคนเป็นคนมั่งมีหรือคนยากจน คนมี
อำ� นาจอภสิ ทิ ธห์ิ รอื คนทอ่ี ตั คดั ขาดแคลน ฯลฯ กจ็ ดั ใหก้ ารใชท้ รพั ยากรมากนอ้ ยแตกตา่ งกนั ได้ เชน่ คนมง่ั มี
และคนมีอ�ำนาจอภิสิทธิ์จะใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง และมากเกินกว่าที่คนยากจนคนอัตคัดขัดสนจะใช้
ชาวเมอื งปกตมิ ที รพั ยส์ มบตั ิ (ซง่ึ แปรสภาพมาจากทรพั ยากรธรรมชาต)ิ มากกวา่ ชาวชนบท ซงึ่ หมายความ
ว่าต้องใช้ทรพั ยากรหมดเปลืองกว่า
       แตก่ ารใชท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ เี่ ปน็ ประโยชนแ์ กช่ วี ติ กต็ อ้ งอาศยั ความรเู้ กย่ี วกบั ลกั ษณะคณุ สมบตั ิ
ของสิ่งในธรรมชาติ ประกอบกับความสามารถที่จะเอาทรัพยากรน้ันมาแปรสภาพใช้ได้ด้วยเครื่องมือและ
วิธกี ารท่มี ีประสทิ ธิภาพ ชาวปา่ ชาวเขาใช้ทรัพยากรธรรมชาตนิ อ้ ย เพราะมคี วามตอ้ งการจำ� เป็นของชวี ิต
ไมม่ าก แต่เครื่องมือวธิ กี ารบางอยา่ งอาจท�ำให้ส้นิ เปลืองทรพั ยากรได้มาก เชน่ การถางและเผาปา่ บนเขา
เพ่ือหาท่ีโล่งปลูกข้าวเพียงไม่ก่ีปี หรือชาวบ้านถางป่าไม้ใหญ่ตามธรรมชาติในป่าทิ้งเพื่อท�ำไร่ข้าวโพด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32