Page 30 - ไทยศึกษา
P. 30
๑-20 ไทยศึกษา
ตอนที่ ๑.๒
ขอบเขตและลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมไทย
โปรดอา่ นหวั เรอื่ ง แนวคิด และวตั ถุประสงค์ของตอนที่ ๑.๒ แลว้ จงึ ศกึ ษารายละเอียดต่อไป
หัวเรื่อง
๑.๒.๑ ปัญหาในการกำ� หนดขอบเขตของ “สังคม” และ “วฒั นธรรม”
๑.๒.๒ การกำ� หนดขอบเขตของสงั คมไทย
๑.๒.๓ การก�ำหนดลักษณะของวฒั นธรรมไทย
แนวคิด
๑. ก ารพิจารณาสังคมหรือวัฒนธรรมหน่ึงที่มีตัวตนและชื่อเฉพาะ ก�ำหนดกันแน่นอนใน
สถานทหี่ รอื กาลเวลาหนงึ่ มกั ประสบปญั หาวา่ จะกำ� หนดขอบเขตของสงั คมและวฒั นธรรม
นั้นให้ชดั เจนไดเ้ พียงใด โดยเฉพาะถา้ เป็นสังคมและวัฒนธรรมท่แี บง่ ยอ่ ยได้เป็นหลาย
สว่ น ซง่ึ แตล่ ะส่วนจะมลี ักษณะต่างกันได้
๒. ส งั คมไทยมีขอบเขตไมเ่ ทา่ กนั ในต่างยุคตา่ งสมยั ทั้งในระดบั สว่ นรวมและในระดบั ส่วน
ทแ่ี ยกย่อย คอื เป็นสังคมระดบั ประเทศ หรือระดบั กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุ เป็นสังคมส่วนกลาง
หรือส่วนภูมิภาค จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งระบบุ รรยายใหช้ ดั เจน
๓. วฒั นธรรมไทยมลี กั ษณะตามการกำ� หนดขอบเขตของสงั คม ซงึ่ อาจจะจำ� แนกตามสถาน
ท่ีเป็นเขตเมืองกับเขตชนบท หรือจะจ�ำแนกด้วยกาลเวลาเป็นของสมัยโบราณแบบ
“ประเพณี” หรอื ของยคุ ปัจจบุ ันแบบ “สมยั ใหม่” ซง่ึ วฒั นธรรมไทยในสังคมแตล่ ะสว่ น
หรอื แบบนีม้ ลี ักษณะไม่เหมือนกัน
วัตถุประสงค์
เมอ่ื ศึกษาตอนท่ี ๑.๒ จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ
๑. บอกปัญหาท่ีตอ้ งพิจารณาในการก�ำหนดขอบเขตของ “สังคม” และ “วฒั นธรรม” ทมี่ ี
ตัวตนและชื่อเฉพาะได้
๒. อธบิ ายความเขา้ ใจทแ่ี ตกตา่ งกนั เกีย่ วกบั ขอบเขตสงั คมไทยได้
๓. อ ธบิ ายความยากในการบรรยายลกั ษณะของวฒั นธรรมไทยใหช้ ดั เจนและสมบรู ณส์ ำ� หรบั
ทกุ ยคุ ทกุ สมยั ได้