Page 26 - ไทยศึกษา
P. 26

๑-16 ไทยศึกษา
เป็น “วิทยาศาสตร์” และท�ำเครอื่ งมือเครื่องใชท้ เี่ รยี กเป็น “ประยกุ ตวทิ ยา” (เทคโนโลย)ี ทีม่ ที รพั ยากร
วัตถุให้มนษุ ยใ์ ช้สอยเพื่อการด�ำรงชีวติ ได้ ถ้ามีความสามารถจะแปรสภาพท่ตี รงตามความตอ้ งการของตน

       ๓.๓ 	ระเบียบกฎเกณฑ์ เครอื่ งมอื และวธิ กี ารทจี่ ะควบคมุ และใชเ้ พอื่ มนษุ ยด์ ว้ ยกนั ใหส้ ามารถเสนอ
สนองประโยชน์กันในการอยู่ร่วมเป็นหมู่คณะได้ ส่วนนี้ ได้แก่ ระเบียบกฎเกณฑ์และมาตรฐานที่ควบคุม
การกระทำ� และความประพฤตทิ สี่ มาชกิ ของสงั คมมตี อ่ กนั ตง้ั แตใ่ นกลมุ่ ขนาดเลก็ เชน่ ครอบครวั เครอื ญาติ
กลมุ่ เพอื่ นและเพอ่ื นบา้ น กลมุ่ อาชพี กลมุ่ นนั ทนาการ กลมุ่ การปกครอง กลมุ่ ศาสนา ฯลฯ จนถงึ กลมุ่ ขนาดใหญ่
เป็นชุมชนในท้องถิ่น ในภูมิภาค จนถึงในระดับชาติทั้งหมด เคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีควบคุมและใช้ประโยชน์
จากเพื่อนมนุษย์ ซ่งึ นับเปน็ ทรพั ยากรอกี อยา่ งหนง่ึ ทีเ่ ป็นประโยชนแ์ กก่ ารดำ� รงชวี ิตรว่ มกันได้ จะปรากฏ
เปน็ ธรรมเนียมประเพณี ข้อบงั คบั และกฎหมายท่กี �ำหนดและควบคมุ การกระท�ำระหวา่ งกนั ของมนษุ ยท์ ่ี
อยรู่ ว่ มกนั เปน็ สงั คม แยกไดเ้ ปน็ ระบบตา่ งๆ ทมี่ นษุ ยต์ อ้ งทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั เชน่ ระบบครอบครวั เครอื ญาติ
มิตรสหาย ระบบเศรษฐกิจ ระบบการปกครอง ระบบนันทนาการ ระบบศาสนา ฯลฯ

       ๓.๔ 	จินตนาการ เครื่องมอื และวธิ กี ารที่กล่มุ ในสังคมไทยใชใ้ นเร่ืองความคดิ ความเช่อื คา่ นิยม
และอดุ มการณ์ที่มนษุ ย์มีจนิ ตนาการร่วมกนั ใหเ้ ป็นสภาพแวดล้อมอีกสว่ นหนง่ึ ของชวี ติ ถา้ เทียบกบั ส่วนที่
เปน็ สภาพแวดล้อมกายภาพ คอื ทรัพยากรธรรมชาติ หรือสว่ นทีเ่ ปน็ เพอ่ื นมนุษย์ คอื ทรัพยากรมนษุ ย์
ทกี่ ลา่ วมากอ่ นแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ สว่ นสดุ ทา้ ยนเ้ี ปน็ สภาพแวดลอ้ มทม่ี อี ยเู่ พราะจนิ ตนาการของมนษุ ยเ์ ทา่ นนั้
เช่น ความคดิ เรอ่ื งดี ชวั่ ถกู ผดิ บาป บญุ ความยตุ ธิ รรม ความงาม ประชาธปิ ไตย ฯลฯ ความเชอื่ เรอื่ ง
จติ วญิ ญาณ ผีสางเทวดา โลกน้ี โลกหนา้ ฯลฯ ค่านยิ มในส่ิงของหรอื การกระทำ� บางอยา่ งวา่ พงึ ปรารถนา
มีคา่ ควรใช้ควรมเี ปน็ สมบตั ิ เชน่ เพชรทองเปน็ ของมคี า่ ความกตญั ญรู คู้ ณุ เปน็ คณุ ธรรมทคี่ วรปรากฏในการ
กระทำ� ตอ่ ผทู้ เ่ี คยทำ� ประโยชนใ์ หต้ น ฯลฯ หรอื อดุ มการณท์ เี่ ปน็ อดุ มคตขิ องการดำ� รงชวี ติ หรอื ของการปกครอง
หมคู่ ณะ หรอื เพ่อื การอยอู่ ยา่ งสอดคลอ้ งกับธรรมชาติ ฯลฯ

       สงิ่ ทงั้ หมดทก่ี ลา่ วมานเี้ กดิ มไี ดเ้ พราะจนิ ตนาการของมนษุ ย์ แตเ่ มอื่ คดิ และเชอ่ื รว่ มกนั วา่ มสี ง่ิ ตา่ งๆ
นแ้ี ลว้ กส็ รา้ งอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกบั ความคดิ ทล่ี ว้ นแตเ่ ปน็ นามธรรมนนั้ ๆ เชน่ กำ� หนดมาตรฐาน
และแหลง่ ทม่ี าของความดี ช่ัว ถกู ผดิ ฯลฯ ก�ำหนดระเบียบกฎเกณฑ์ทีค่ นตอ่ มากระทำ� การในเรื่องนั้นๆ
มกี ารกำ� หนดประเภทบคุ คลผมู้ คี วามรแู้ ละกำ� หนดวธิ กี ารฝกึ ฝนอบรมใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเชอ่ื เชน่ นน้ั มกี าร
มอบหมายหนา้ ทแ่ี ละใหผ้ ลตอบแทนบคุ คลเหลา่ นน้ั ฯลฯ จงึ เปน็ อกี สว่ นหนง่ึ ของอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารทก่ี ลมุ่
หรอื สังคมใช้ในการดำ� รงชวี ิตร่วมกนั เชน่ มรี ะบบศีลธรรม ความเชือ่ และพิธกี รรมทางศาสนา รูปแบบและ
รสนยิ มทางศลิ ปะ ปรัชญาการปกครอง คตชิ ีวิต ฯลฯ ในแตล่ ะสังคมไมเ่ หมอื นกนั

๔. 	ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคน สภาพแวดล้อม และอุปกรณ์วิธีการด�ำรงชีวิตร่วมกัน

       อปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารทม่ี นษุ ยส์ รา้ งทำ� ขนึ้ มานอกเหนอื สง่ิ ทม่ี อี ยเู่ องตามธรรมชาตแิ ลว้ ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื
ชว่ ยการดำ� รงชวี ติ ของบคุ คลทต่ี อ้ งอยรู่ ว่ มกบั บคุ คลอน่ื เปน็ หมคู่ ณะ ในสภาพแวดลอ้ มหนง่ึ ของชวี ติ ทเ่ี ปน็ บรเิ วณ
สถานท่ีหน่ึง ในช่วงเวลาหน่ึงนั้น แต่ละสังคมในแต่ละสถานท่ีและแต่ละยุคสมัย มักจะมีใช้ไม่เหมือนกัน
จึงทำ� ให้ลกั ษณะของสังคมน้นั ปรากฏแตกต่างจากสังคมอ่นื ๆ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31