Page 31 - ไทยศึกษา
P. 31

แนวคิดในการศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ๑-21

เร่ืองที่ ๑.๒.๑
ปัญหาในการก�ำหนดขอบเขตของ “สังคม” และ “วัฒนธรรม”

       ขอบเขตของสงั คมและวฒั นธรรม มกี ารกำ� หนดดว้ ยทรรศนะตา่ งๆ หลายทรรศนะ ซง่ึ อาจจะขดั แยง้
เปน็ ปญั หาในการศกึ ษาได้ ในหวั เรอื่ งนจ้ี งึ รวบรวมปญั หาตา่ งๆ มาอธบิ ายเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจลกั ษณะของ “สงั คม”
และ “วฒั นธรรม” มากขึน้

๑. 	 สังคม/วัฒนธรรมท่ีเป็นสากลกับสังคม/วัฒนธรรมที่มีชื่อเฉพาะ

       ในตอนท่ีแล้วท่ีพูดถึงลักษณะของสังคมและวัฒนธรรม โดยมิได้ระบุช่ือว่า เป็นสังคมวัฒนธรรม
อะไร ทมี่ ตี วั ตนอยทู่ ไ่ี หน เมอ่ื ใด หลกั การทเ่ี ปน็ จรงิ ไดส้ ำ� หรบั ทกุ สงั คมและวฒั นธรรมเชงิ แนวคดิ หรอื มโนทศั น์
ในงานวชิ าการหรอื ทฤษฎีที่เปน็ กลางๆ ใชไ้ ดท้ ่วั ไปนน้ั เม่อื นำ� มาประยุกต์ใช้กบั สงั คมวฒั นธรรมทีม่ ตี ัวตน
จริงตามช่ือใดชื่อหนึ่งซ่ึงมีมิติของสถานท่ีและเวลามาจ�ำกัด อาจพบปัญหาการปรับขยายความหมายของ
หลักการที่เป็นนามธรรมให้เขา้ กับของจริงที่เปน็ รูปธรรมอีกหลายประการ

       อาทิ ค�ำ  “สังคม” ท่ีมีความหมายในข้ันพื้นฐานว่า คนจ�ำนวนหน่ึงท่ีอยู่ร่วมกันในอาณาบริเวณ
หน่ึง มีการกระท�ำและความสัมพันธ์ที่เสนอสนองประโยชน์กัน มีความรู้สึกผูกพันเป็นหมู่คณะเดียวกันท่ี
ยดื เยอ้ื ถาวร นน้ั แสดงสาระสำ� คญั ขนั้ ตำ�่ สดุ ทไ่ี มน่ า่ จะขาดหรอื ลดสว่ นใดไดอ้ กี มฉิ ะนนั้ กไ็ มน่ า่ จะเรยี กเปน็
“สังคม” ได้ หากไม่ครบเง่ือนไขดังกล่าว แต่ทันทีที่ลองนึกถึงคนกลุ่มหนึ่งที่เข้าข่ายนั้นและให้ช่ือกลุ่มได้
ว่าเป็น สังคม ก. หรอื สงั คม ข. ก็จะเห็นปัญหาได้ทันทีวา่ สังคมนน้ั ๆ จะกำ� หนดขอบเขตกันอยา่ งไรให้
แน่นอนชัดเจน เป็นทรี่ ับรตู้ รงกันไดท้ ุกฝ่าย

       สมมตวิ า่ สงั คม ก. คอื สงั คมพมา่ และสงั คม ข. คอื สงั คมกะเหรยี่ ง สงั คมพมา่ มปี ระชากรทง้ั หมด
ทอี่ ยใู่ นอาณาเขตของประเทศเมยี นมา (ซงึ่ มที ง้ั คนพมา่ คนมอญ คนกะเหรย่ี ง คนคะฉน่ิ คนไทยใหญ/่ เงยี้ ว
และกลุ่มชาติพันธุ์ย่อยๆ ท่ีเป็นชาวเขาอีกหลายเผ่า) หรือจะเอาแต่คนพม่าล้วนๆ (ที่พูดภาษาพม่า
มีวฒั นธรรมพม่า) ถา้ ถอื วา่ ประชากรประเทศเมียนมา ไม่วา่ จะเปน็ เชือ้ สายกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุใดกต็ าม ยอ่ มมี
การกระท�ำและความสัมพันธ์ที่เสนอสนองประโยชน์กันท้ังสิ้นในฐานะที่เป็นพลเมืองของประเทศเดียวกัน
ถึงแม้จะไม่ได้พบปะสมาคมกันโดยตรง ก็อนุโลมในหลักการได้ว่า มีการกระท�ำต่อกันทางอ้อมท่ีเป็น
ประโยชน์แกก่ ัน แต่ถ้ายืนยนั ว่าคนทุกกลุ่มชาตพิ นั ธท์ุ ี่เป็นพลเมืองของประเทศ มีความรู้สกึ ผูกพันเป็นหมู่
คณะเดยี วกนั ทยี่ ดึ เยอื้ ถาวรดว้ ย ในความเปน็ จรงิ แลว้ อาจไมพ่ บความรสู้ กึ เชน่ นนั้ ถงึ แมใ้ นหลกั การบรหิ าร
ปกครองและรัฐบาลจะกล่าวว่า ประชาชนของประเทศควรมีความรู้สกึ ผูกพันสามัคคกี นั ก็ตาม ในความคดิ
ทำ� นองเดียวกัน ถา้ สงั คม ข. คือ สังคมกะเหร่ยี งจะนบั รวมใคร กลมุ่ ใด คนกะเหร่ยี งขณะนีย้ งั ไมม่ ีประเทศ
ท่ีเป็นเอกราชของตนเอง ดินแดนท่ีเป็นรัฐกะเหรี่ยงเป็นส่วนหน่ึงของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาและ
อยู่ใต้อ�ำนาจของรัฐบาลกลาง คนกะเหร่ียงจ�ำนวนหน่ึงต่อสู้เรียกร้องเอกราช และไม่เห็นประโยชน์อะไรที่
จะเสนอสนองกันได้ในการอยู่ร่วมเป็นส่วนหน่ึงของประเทศเมียนมา ไม่มีความรู้สึกผูกพันเป็นหมู่คณะ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36