Page 33 - ไทยศึกษา
P. 33
แนวคิดในการศกึ ษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ๑-23
ประเทศใหญเ่ ปน็ เอกราชของตนเองมาแต่โบราณ คอื ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนปัจจุบัน ซง่ึ สบื ต่อ
มาจากอาณาจกั รและจักรวรรดิจีนสมยั โบราณหลายพนั ปแี ล้ว ก็มีกลุม่ คนจีนโพ้นทะเลท่อี อกไปตัง้ ถ่ินฐาน
อยูใ่ นอีกหลายประเทศในภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เช่น สงิ คโปร์ มาเลเซยี อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปนิ ส์
ไทย และแทบทุกประเทศในแทบทุกทวีปของโลก แต่เมื่ออยู่ในประเทศอ่ืนๆ นอกจากประเทศจีนแล้ว
สถานภาพของคนกลุ่มชาติพันธุ์จีนก็จะแตกต่างไปตามสถานการณ์ เช่น อยู่ในฐานะเป็นพลเมืองของ
ประเทศโดยสมบรู ณ์ (อยา่ งในสิงคโปร์ มาเลเซยี ) หรอื ถอื สญั ชาติของประเทศท่ตี นพำ� นกั ตามท่กี ฎหมาย
ของประเทศนั้นใหส้ ิทธิ (เชน่ ในประเทศไทยหรอื สหรัฐอเมรกิ า) หรือในฐานะของคนต่างดา้ วท่ีอพยพเข้า
มาอาศยั โดยไมไ่ ดส้ ญั ชาตเิ ปน็ พลเมอื งของประเทศเพราะไมเ่ ขา้ ขา่ ยทกี่ ฎหมายอนญุ าต ฯลฯ คนจนี จงึ อาจ
รกั ษาลักษณะเปน็ กลมุ่ สงั คมวฒั นธรรมย่อยเฉพาะตัวไวช้ ัดเจนในฐานะคนต่างด้าว หรอื พลเมอื งทม่ี ชี มุ ชน
ของตนเปน็ พเิ ศษ (เชน่ แถวสำ� เพง็ และเยาวราชในกรงุ เทพฯ หรอื ในเมอื งซานฟรานซสิ โก รฐั แคลฟิ อรเ์ นยี
ของประเทศสหรฐั อเมริกาในปจั จุบัน) หรือผสมกลมกลนื เข้าร่วมอยู่ในสังคม วฒั นธรรมของกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ
เจา้ ของประเทศไทยโดยสมบรู ณห์ รอื เกอื บสมบูรณ์ (เชน่ ในประเทศไทย)
อีกสังคมวัฒนธรรมหนึ่งซึ่งมีลักษณะคล้ายกันนี้ คือ สังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ยิว ซ่ึงเป็นชนชาติ
โบราณก่อนครสิ ตกาล แตส่ ญู เสียประเทศและการปกครองของตนเอง ภายหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ และ
ได้ปกครองกันเองเป็นประเทศอิสราเอลในปัจจุบัน แต่ก็มีคนเชื้อสายยิวท่ีกระจายกันอยู่เป็นพลเมืองของ
ประเทศอื่นๆ แทบทั่วโลก
ตัวอย่างต่างไปจากที่กล่าวมา ที่น่าสนใจคือ สังคมวัฒนธรรม “อเมริกัน” ซ่ึงถึงแม้จะมีลักษณะ
ทำ� นองสังคมวัฒนธรรม “มาเลเซยี ” (ซ่งึ เป็นสงั คมประเภท “ประเทศ” ที่ไม่มีกลุม่ ชาติติพันธช์ ่อื เดยี วกนั
รองรับ) มากกวา่ “จนี ” (ซ่งึ เป็นสังคมประเภท “กล่มุ ชาตพิ นั ธ”์ุ กบั “ประเทศ” ควบคู่กันในสาธารณรฐั
ประชาชนจีน) หรือ “พมา่ ” (ซ่งึ ตงั้ ช่ือ “ประเทศ” ตามช่อื “กลุ่มชาตพิ นั ธ”์ุ ท่มี ีอำ� นาจบรหิ ารปกครองใน
กลุ่มชาตพิ นั ธยุ์ อ่ ยอ่นื ๆ ที่รวมเปน็ ประชากรของประเทศ) เพราะชอ่ื “อเมรกิ า” เป็นชือ่ ท่กี ำ� หนดขน้ึ ใหม่
ให้แก่ดินแดนซึ่งคนยโุ รปมาพบและยดึ ครอง จงึ ไม่มกี ลมุ่ คนชาติพันธใ์ุ ดทตี่ รงกับชอ่ื น้โี ดยตรงมากอ่ นท่ีจะ
มีประเทศและเกดิ สงั คมระดบั ประเทศตามชอ่ื ดงั กลา่ ว ถงึ แมก้ ลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ มี่ อี �ำนาจครอบง�ำในกลมุ่ อน่ื จะ
ไดแ้ ก่ กลมุ่ คนยโุ รปทอี่ พยพเขา้ มา ซง่ึ ใชภ้ าษาองั กฤษจนตอ่ มาทเ่ี ปน็ ภาษาประจำ� ชาติ ทเี่ พย้ี นไปเปน็ ภาษา
องั กฤษแบบอเมรกิ นั กต็ าม แตค่ นกลมุ่ นกี้ เ็ ปน็ เพยี งกลมุ่ เลก็ เมอื่ เทยี บกบั คนยโุ รปอพยพทมี่ าจากชาตภิ าษาอน่ื
ซ่ึงรักษาเอกลักษณ์ทางสังคมวัฒนธรรมกลุ่มย่อยของตนอย่างชัดเจนในพลเมืองอพยพรุ่นอายุแรกๆ แล้ว
ถงึ พลเมอื งอเมรกิ นั ทเ่ี ปน็ รนุ่ อายหุ ลงั ๆ จะทง้ิ เอกลกั ษณว์ ฒั นธรรมเดมิ ของคนรนุ่ พอ่ และปู่ กลายมาเปน็ คน
“อเมริกัน” ร่วมกันหมด กระนั้นก็ยังมีการย้อนกลับไปหารากเหง้าวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์เดิม และ
ฟน้ื ฟมู าใชแ้ สดงเอกลกั ษณข์ องกลมุ่ ยอ่ ย เชน่ ในกรณขี องคนอเมรกิ นั เชอ้ื สายแอฟรกิ นั เปน็ ตน้ ความหลากหลาย
ในสงั คมวฒั นธรรมอเมรกิ นั จงึ มมี าก ภายในลกั ษณะทเ่ี ปน็ ของกลางรว่ มกนั ซง่ึ อาศยั พน้ื ฐานของกลมุ่ คนเชอื้ สาย
ยโุ รปทเี่ น้นการใช้ภาษาองั กฤษ และนบั ถือศาสนาคริสต์ก็ตาม สงั คมวัฒนธรรม “อเมรกิ นั ” ซึง่ มีอายุตาม
เอกราชของประเทศมาเพยี ง ๒๐๐ ปเี ศษ (นับจาก ค.ศ. ๑๗๗๖/พ.ศ. ๒๓๑๙) อาจเป็นตัวอยา่ งของการ
สร้างเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมส�ำหรับสังคมระดับประเทศที่ไม่มีกลุ่มชาติพันธุ์ใดสร้างความเป็นเจ้าของ
ครอบครองไดโ้ ดยตรง เหมือนในสงั คมอ่ืนๆ ที่อา้ งความเปน็ ประเทศของตนมาชา้ นานกว่า