Page 37 - ไทยศึกษา
P. 37
แนวคดิ ในการศกึ ษาสังคมและวัฒนธรรมไทย ๑-27
นอกจากนั้น ยงั มีปัญหาท่เี กีย่ วเน่ืองอีกวา่ “ประเพณ”ี ท่เี ปน็ แบบแผนการกระท�ำทีถ่ า่ ยทอดกนั
มาจากบรรพบรุ ษุ ในกจิ กรรมตา่ งๆ ของชวี ติ นน้ั ถา้ เปน็ สงั คมวฒั นธรรมทมี่ กี ารแบง่ เปน็ ชนั้ ผบู้ รหิ ารปกครอง
(ไดแ้ ก่ เจา้ นาย ขนุ นาง ขา้ ราชการ ฯลฯ) ทเ่ี ปน็ ชาวเมอื งหลวงหรอื หวั เมอื งทต่ี ง้ั อำ� นาจการปกครองทขี่ ยาย
ออกมาจากเมืองหลวงกับช้ันผู้ถูกปกครอง (คือ ชาวบ้านธรรมดาสามัญชน) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวชนบท
ก็จะปรากฏแยกกนั เป็น “ประเพณหี ลวง” ของชนชั้นบริหารปกครอง กบั “ประเพณีราษฎร์” ของชนชน้ั
ผู้ถูกปกครอง มีความประณีตซับซ้อนไม่เท่ากันทั้งๆ ท่ีเป็นกิจกรรมเรื่องเดียวกันของชีวิต ไม่ว่าจะเป็น
ประเพณชี วี ติ บคุ คล เชน่ เกดิ แตง่ งาน ตาย ฯลฯ หรอื ประเพณพี ธิ กี รรมทางศาสนาหรอื ประเพณขี องชมุ ชน
ไมว่ า่ ในเรอื่ งการอาชพี ทำ� มาหากนิ การศกึ ษาหาความรู้ การคบหาสมาคม การควบคมุ ระเบยี บของชมุ ชน
การพกั ผ่อนและการละเลน่ ฯลฯ
๕. “สังคม” ตามความรู้สึกของตนเอง กับ “สังคม” ตามการก�ำหนดของผู้อ่ืน
การก�ำหนดขอบเขตของ “สังคม” ว่าจะรวมผู้ใดบ้างและไม่รวมผู้ใดบ้างนั้น อาจต่างกันตาม
หลกั เกณฑท์ ่ีแต่ละคนใช้ไม่เหมือนกันได้อีก นอกเหนือการแบ่งเป็นรูปแบบลักษณะต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว
กอ่ นหนา้ น้ี
ในประสบการณแ์ ละสามญั สำ� นกึ ของแตล่ ะบคุ คล ความรสู้ กึ ทต่ี อ้ งการจะกระทำ� และมคี วามสมั พนั ธ์
กบั ผใู้ ดบา้ ง เพอ่ื ประโยชนเ์ สนอสนองกนั อยา่ งไร ทจ่ี ะใหย้ ดื เยอื้ ยาวนานเปน็ ความผกู พนั เพยี งใด ฯลฯ ยอ่ ม
มหี ลักการเฉพาะตัวของแตล่ ะคน ท�ำใหข้ อบเขตของ “สังคม” ตามความรูส้ กึ ของแต่ละบุคคล กว้างแคบ
ได้ไม่เทา่ กนั
โดยปกติ ทุกคนเกดิ มาในครอบครัว จึงมีการกระท�ำสัมพนั ธก์ ับพ่อแม่ พี่นอ้ งและเครือญาติ เปน็
กลุม่ สงั คมแรกของตนก่อนกลมุ่ อนื่ เมอื่ เวลาลว่ งไปมกี ารคบหาสมาคมกับผ้อู ื่นในชมุ ชนกวา้ งขวางออกไป
โดยลำ� ดบั ชมุ ชนจงึ มกั จะเปน็ ขอบเขตของสงั คมทพ่ี น้ ครอบครวั ออกไป พน้ จากนนั้ หากบคุ คลมกี ารกระทำ�
สมั พนั ธก์ บั ผคู้ นในชมุ ชนอน่ื พน้ ชมุ ชนในภมู ลิ ำ� เนาของตนเอง จะอาศยั การมญี าตเิ กยี่ วดองหรอื มติ รสหาย
ท่พี ่ึงพาอาศยั กนั ได้ หรอื การค้าขาย การร่วมอาชพี เป็นเจ้าจ�ำนำ� ขาประจ�ำยืดเยื้อกนั ฯลฯ กต็ ามขอบเขต
ของสังคมของตนก็ขยายกว้างออกไปอีก แต่ถึงจะมีชุมชนอื่นนอกจากนั้นที่พูดจาภาษาเดียวกัน มีขนบ-
ธรรมเนยี มประเพณเี หมอื นกนั ฯลฯ แตถ่ า้ บคุ คลนนั้ ไมเ่ คยไปพบปะคบหาสมาคมกนั ไมร่ จู้ กั กบั ใครเลยใน
ชุมชนน้ันๆ ก็ย่อมไม่นับว่าร่วมสังคมเดียวกัน เพราะไม่เคยมีการกระท�ำสัมพันธ์กัน ยิ่งถ้าเป็นชุมชนที่
พูดจาภาษาอ่ืนต่างๆ มีธรรมเนียมประเพณีไม่เหมือนกัน ฯลฯ ถึงแม้จะเคยติดต่อและเปลี่ยนซ้ือขายกัน
เป็นครัง้ คราว ไดป้ ระโยชน์เสนอสนองกัน ก็ไมน่ บั วา่ เปน็ สงั คมเดยี วกัน เพราะไม่มอี ะไรอนื่ ท่จี ะเป็นแบบ
อยา่ งชีวติ ร่วมกันได้
ข้อสงั เกตเกี่ยวกบั ขอบเขตของ “สังคม” จากทรรศนะของตัวบุคคลจงึ มีวา่
๕.๑ การคบค้าสมาคม ถงึ แมจ้ ะเปน็ คนหรอื ชมุ ชนทมี่ ภี าษาและธรรมเนยี มประเพณเี ดยี วกนั หรอื
“วฒั นธรรม” อยา่ งเดยี วกนั แตถ่ า้ ไมม่ กี ารคบหาสมาคมกนั จรงิ กไ็ มน่ บั เปน็ สงั คมเดยี วกนั กบั สงั คมของตน
๕.๒ วัฒนธรรม ถงึ แม้จะมีการกระท�ำสัมพันธก์ ันบา้ งที่เป็นประโยชน์ตอ่ กนั และกนั เช่น การคา้
ขายแลกเปล่ียน แต่ถ้าไม่พูดภาษาหรือมีธรรมเนียมประเพณีเดียวกันหรือไม่มี “วัฒนธรรม” เดียวกัน
ก็ไมร่ ูส้ กึ ว่า “สงั คม” เดียวกัน