Page 40 - ไทยศึกษา
P. 40
๑-30 ไทยศึกษา
เรื่องที่ ๑.๒.๒
การก�ำหนดขอบเขตของสังคมไทย
“สังคม” ของคนกลุ่มหน่ึงที่เรียกเป็น “สังคมไทย” น้ันมีขอบเขตที่ชัดเจนแน่นอนเป็นรูปธรรม
อยา่ งไร
๑. ขอบเขตของสังคมไทยที่ก�ำหนดด้วยความสัมพันธ์ฉันญาติมิตร
ถ้ามองจากภายในโดยคนที่เป็นสมาชิกของสังคมนั้นเอง “สังคมไทย” ก็คือกลุ่มคนที่พูดภาษา
เดยี วกนั มกี ารกระทำ� เกย่ี วขอ้ งกนั ดว้ ยแบบอยา่ งธรรมเนยี มประเพณที ย่ี ดึ ถอื รว่ มกนั และมคี วามรสู้ กึ ผกู พนั
เปน็ พวกพอ้ งหมคู่ ณะเดยี วกนั ขอบเขตของสังคมไทยตามเกณฑน์ ีก้ ำ� หนดตามความร้สู กึ ของผูท้ ถี่ อื ตนว่า
เปน็ เจ้าของตน สังคมไทยทก่ี �ำหนดเชน่ นยี้ ่อมมขี อบเขตคอ่ นขา้ งจำ� กัด แต่กไ็ มถ่ งึ กบั มแี ตผ่ ู้คนทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
สมั พนั ธก์ นั เฉพาะในปจั จบุ นั เทา่ นน้ั เพราะยอ่ มรวมบรรพบรุ ษุ ทลี่ ว่ งลบั ไปในประวตั ศิ าสตรด์ ว้ ย แตจ่ ะรวม
แตเ่ รอ่ื งราวของกลมุ่ ทต่ี นถอื วา่ สบื ตอ่ กนั มาเทา่ นนั้ (การปลกู ฝงั ถา่ ยทอดความรเู้ รอ่ื งอดตี ของกลมุ่ จงึ มคี วาม
สำ� คญั ส�ำหรบั การสืบสาวขอบเขตของสังคมยอ้ นหลงั ขน้ึ ไปกอ่ นสมยั ปัจจบุ ัน)
คนไทยสมยั น้ี บางคนทม่ี คี วามรสู้ กึ ทางชาตนิ ยิ มคอ่ นขา้ งแรง จะจำ� กดั เขตของสงั คมไทยไวเ้ ชน่ นนั้
คนที่พูดจาภาษาเพี้ยนไป แต่งกายต่างไป กินอยู่ไม่เหมือนกับตน ฯลฯ ถึงแม้จะมีเค้าว่าเป็นเครือภาษา
เดียวกนั แต่สำ� เนียงเพย้ี นกนั และคำ� ท้องถน่ิ ต่างกันบ้าง คนทเ่ี คร่งครัดมากก็จะนับแยกกนั เปน็ คนละพวก
คนละสงั คม โดยเฉพาะถ้าไม่ร้จู ักมักคนุ้ และไมม่ ีการติดตอ่ สมั พนั ธ์กันอยู่เปน็ ประจ�ำ
ความรู้สึกคับแคบเช่นนม้ี ักมีในหมคู่ นทอี่ ยู่ล�ำพงั ในกลมุ่ ตน แยกขาดจากผ้อู น่ื ไมม่ ีการคมนาคม
ตดิ ตอ่ กบั โลกภายนอกมากนกั และมคี วามเปน็ อสิ ระ ไมอ่ ยใู่ นปกครองใคร และกไ็ มแ่ ผอ่ ำ� นาจปกครองเปน็
กลุ่มอ่ืนใด เช่น ชุมชนหมู่บ้านหรือชุมชนเผ่าท่ีอยู่เป็นเอกเทศ ท�ำมาหากินเลี้ยงชีวิตตนเองโดยไม่ต้อง
คา้ ขายแลกเปลย่ี นผลผลติ กบั ใครอนื่ หากจะใหน้ บั ชมุ ชนอนื่ เขา้ เปน็ พวกพอ้ งเดยี วกนั ไดก้ ต็ อ้ งเปน็ ชมุ ชนที่
มีความสัมพันธ์เป็นญาติมิตรเกี่ยวดองกัน ส�ำนวนไทยท่ีว่า “บ้านใครใครอยู่ อู่ใครใครนอน” และความ
หมายวา่ มกี ารแยกตวั เอง (หรอื กลมุ่ ของตวั เอง) จากผอู้ นื่ (หรอื กลมุ่ อน่ื ) ได้ อยา่ งนเี้ ทา่ กบั กำ� หนดขอบเขต
ของ “สังคม” ด้วยความเปน็ ญาติหรือความเปน็ มติ รท่ีเทยี มญาติเปน็ ส�ำคัญ
๒. ขอบเขตของสังคมไทยที่ก�ำหนดด้วยอ�ำนาจการบริหารปกครอง
ขอบเขตของ “สงั คม” (ซง่ึ เปน็ คำ� วชิ าการสมยั ใหมท่ ป่ี กตชิ าวบา้ นไมใ่ ชก้ นั แตจ่ ะใชว้ า่ “พวกพอ้ ง
หม่คู ณะ ฯลฯ” มากกวา่ ) จะกว้างขวางขน้ึ ตามขอบเขตความสัมพันธ์ของบคุ คลทเี่ ก่ียวขอ้ ง หนุ่มชาวบ้าน
ทเ่ี ทย่ี วเตรไ่ ปรจู้ กั ผคู้ นตา่ งหมบู่ า้ น ชมุ ชน ยอ่ มกำ� หนดขอบเขตของ “สงั คม” ไดก้ วา้ งขวางกวา่ หญงิ ชาวบา้ น
ท่ีอยู่แต่ในหมู่บ้าน ผู้ท่ีมีอ�ำนาจบารมีคุ้มครองเป็นท่ีพ่ึงพาอาศัยของคนในหลายชุมชน ย่อมมีขอบเขต
ของ “สงั คม” ของคนทตี่ อ้ งเกยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ วา้ งขวางกวา่ ขอบเขตสงั คมของคนทไ่ี มม่ ใี ครมาพงึ่ พน้ เขต