Page 43 - ไทยศึกษา
P. 43

แนวคดิ ในการศึกษาสังคมและวฒั นธรรมไทย ๑-33
กิจกรรม ๑.๒.๒

       สงั คมไทยของนกั ศกึ ษาเองมขี อบเขตทก่ี วา้ งขวางหรอื จำ� กดั ไวอ้ ยา่ งไร รวมคนนอกประเทศหรอื ไม่
ยกเวน้ คนในประเทศบา้ งหรอื ไม่
แนวตอบกิจกรรม ๑.๒.๒

       แต่ละคนมีความส�ำนึกและต้องการกำ� หนดขอบเขตสังคมของตนไมเ่ หมือนกัน สงั คมท้องถ่นิ ย่อม
แคบกวา่ สงั คมระดบั ประเทศ ในฐานะทเ่ี ปน็ คนไทยกย็ อ่ มมขี อบเขตของสงั คมไทยได้ กวา้ งแคบเพยี งใดขนึ้
อยกู่ บั คำ� ตอบของแตล่ ะคน ตวั อยา่ งเชน่ กลมุ่ คนพดู ภาษาถนิ่ อสี าน อาศยั อยใู่ นภาคอสี าน ในประเทศลาว
ในสหรฐั อเมรกิ า กลมุ่ คนเหลา่ น้ี อาจจะจำ� กดั ขอบเขตลกั ษณะของสงั คมไดท้ ง้ั อยา่ งกวา้ งขวางหรอื อยา่ งจำ� กดั

เร่ืองที่ ๑.๒.๓
การก�ำหนดลักษณะของวัฒนธรรมไทย

       ดังกล่าวแล้วว่า “วัฒนธรรมไทย” มีความหมายที่เป็นแบบอย่างการด�ำรงชีวิตที่กลุ่มคน (หรือ
สงั คม) ไทยกำ� หนดขน้ึ และยดึ ถอื รว่ มกนั ปน้ั ประกอบดว้ ยวสั ดอุ ปุ กรณ์ เครอ่ื งใชไ้ มส้ อย ระเบยี บกฎเกณฑ์
แบบแผนวธิ กี าร ความคดิ ความเชอ่ื ความหมายและคณุ คา่ ทค่ี นในกลมุ่ (หรอื สงั คม) ไทยนนั้ รว่ มรรู้ ว่ มรบั
และร่วมใช้ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มที่มีลักษณะเฉพาะแยกได้จัดกลุ่มอ่ืนน้ัน ถ้าก�ำหนดหมายกลุ่มใน
สงั คมได้ ก็บรรยายลกั ษณะวฒั นธรรมของกลมุ่ หรือสังคมนั้นได้

       สังคมไทยในสมัยปัจจุบันย่อมแสดงแบบอย่างการด�ำรงชีวิตของคนไทยให้พิจารณาและบรรยาย
ลกั ษณะไดท้ กุ ดา้ น ทกุ เรอ่ื ง และทกุ สว่ นของสงั คม ไมว่ า่ จะเปน็ ภาษาทใี่ ชส้ อื่ สาร ปจั จยั ๔ ของชวี ติ เครอ่ื งมอื
เคร่ืองใช้ส�ำหรับอาชีพการงาน และอุปกรณ์การเล่น การบันเทิง กฎเกณฑ์และวิธีการในการผลิตและ
การบริโภค แบบแผนโครงการอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวและเครือญาติ การคบหาสมาคมกับเพ่ือนฝูงหรือ
การบรหิ ารปกครองกบั ความคดิ ความเชอ่ื คา่ นยิ ม และอดุ มการณใ์ นทกุ เรอื่ งทก่ี ลา่ วแลว้ และรวมทง้ั ศาสนา
ปรชั ญาและศลิ ปะ ซึง่ ทง้ั หมดน้คี อื ส่วนประกอบทเี่ ป็นหลกั ของทุกวฒั นธรรม

๑. 	 แหล่งข้อมูลของวัฒนธรรมไทยในอดีต

       สงิ่ ทงั้ หลายของวฒั นธรรมดงั กลา่ วนที้ เ่ี ปน็ สว่ นของอดตี อาจไมม่ ตี วั อยา่ งหลกั ฐานเกบ็ รวบรวมกนั
ไว้ให้รู้ได้ทุกยุคสมัย จากทุกส่วนของสังคมได้เสมอไป การบันทึกเร่ืองราวท่ีเป็นภาษาไทยเอง พ่อขุน
รามคำ� แหงมหาราชประดษิ ฐ์ไว้ใหใ้ ชก้ ันเมือ่ พ.ศ. ๑๘๒๖ หรือจะเปน็ ภาษาอ่ืน เชน่ ขอม มอญ หรอื บาลี
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48