Page 46 - ไทยศึกษา
P. 46

๑-36 ไทยศึกษา

เพียง “วัฒนธรรม” ของชนชั้นสูงเท่านั้น ถ้าจะรู้เรื่องประเพณีพิธีกรรมอะไรในชีวิตของบุคคลและชุมชน
กจ็ ะมแี ตเ่ รอื่ งทผี่ บู้ รหิ ารปกครองเจา้ ของบนั ทกึ กม็ สี ว่ นรว่ มเกย่ี วขอ้ งอยดู่ ว้ ย ถา้ บคุ คลระดบั นนั้ ไมเ่ กยี่ วขอ้ ง
ก็ไม่มีบันทึกรายงาน (ด้วยเหตุนั้นจึงต้องอาศัยข้อมูลจากรายงานของคนเดินทางชาวต่างประเทศแทน
เพราะสนใจบนั ทกึ เปน็ แทบทกุ อยา่ งทพ่ี บเหน็ แตจ่ ะถกู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ ทง้ั หมดหรอื ไม่ กไ็ มม่ ที างรแู้ น)่

       ในสมัยน้ีที่ความหมายของ “วัฒนธรรม” ขยายไปรวมถึงแบบอย่างชีวิตความเป็นอยู่ของชนชั้น
ชาวบา้ นสามญั ชน ไมจ่ ำ� กดั อยแู่ ตเ่ พยี งชนชน้ั สงู ของสงั คมอยา่ งทบ่ี างคนเคยเขา้ ใจกนั การบรรยายลกั ษณะ
วัฒนธรรมไทยจึงต้องรวมเรื่องของการด�ำเนินชีวิตของคนธรรมดาทั่วไปด้วย แต่เน่ืองจากสามัญชนมักจะ
มแี บบแผนการดำ� รงชวี ติ แตกตา่ งไปจากชนชน้ั สงู ของสงั คม การบรรยายลกั ษณะวฒั นธรรมไทย จงึ ไมค่ วร
พดู เปน็ เรอื่ งรวมๆ รว่ มกนั ไปทงั้ หมดสำ� หรบั คนไทยทกุ ชนั้ เชน่ เรอ่ื งการเลอื กคขู่ องหนมุ่ สาวไทยนน้ั ถา้ ถาม
วา่ บคุ คลมเี สรภี าพทจี่ ะเลอื กคขู่ องตนตามความพอใจไดห้ รอื ไมเ่ พยี งใด กอ็ าจจะไมม่ คี ำ� ตอบเดยี วไดต้ รงๆ
ทนั ที เพราะขน้ึ อยกู่ บั ฐานะทางสงั คมของบคุ คลหรอื ของครอบครวั ของเขา ถา้ เปน็ คนไทยชนั้ สงู ผลู้ ากมากดี
หรอื ผเู้ ปน็ เศรษฐคี หบดี พอ่ แมอ่ าจพถิ พี ถิ นั ในเรอ่ื งคคู่ รองของลกู และอาจใชส้ ทิ ธอิ ำ� นาจของพอ่ แมห่ าคใู่ หล้ กู
เพอื่ รกั ษาและเสรมิ สรา้ งฐานะของครอบครวั โดยเลอื กผทู้ มี่ ฐี านะเทา่ เทยี มกนั หรอื ทจ่ี ะเปน็ ประโยชนเ์ กอื้ กลู
กจิ การของกนั และกนั แตถ่ า้ เปน็ คนสามญั ชน้ั ไพรห่ รอื ทาส หนมุ่ สาวอาจมเี สรภี าพทจ่ี ะเลอื กคเู่ องตามความ
พอใจ หากไมล่ ะเมิดกฎเกณฑ์ขอ้ หา้ มของชมุ ชนที่ไม่นยิ มให้ไปชอบคนที่มชี ั้นวรรณะสงู หรอื ตำ่� กว่าตนนกั
ฯลฯ

       ความแตกต่างของฐานะหมายถึงการมีทรัพยากรมากน้อยกว่ากัน ท�ำให้ผู้มีทรัพย์น้อยย่อมมี
อุปกรณ์วิธีการด�ำเนนิ ชีวิตให้หรหู ราฟุ่มเฟือยด้วยของดีของแพงอย่างผู้มีทรัพยม์ ากไม่ได้ การกระท�ำบาง
อยา่ งอาจจำ� กดั ไวใ้ หเ้ ปน็ อภสิ ทิ ธข์ิ องชนชน้ั บรหิ ารปกครองเทา่ นน้ั ทชี่ าวบา้ นสามญั ชนจะทำ� ตามเลยี นแบบ
ไมไ่ ด้ เชน่ การนงั่ เสลยี่ งคานหาม ยอ่ มทำ� ไดแ้ ตข่ นุ นาง เรอื นฝากระดานตอ่ กนั หลายหลงั ยอ่ มเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั
ของคหบดเี ทา่ นนั้ ชาวบา้ นยากจนยอ่ มไมก่ นิ อาหารไดม้ ากอยา่ งเชน่ เศรษฐี และไมม่ ผี า้ ยกไหมนงุ่ หม่ ทดั เทยี ม
ชนชนั้ สูงได้

       การบรรยายลกั ษณะวฒั นธรรมไทยใหช้ ดั เจนจงึ ตอ้ งระบจุ ำ� แนกตามระดบั ชนั้ สงั คมของผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง
ด้วย เพราะสังคมไทยมีการแบ่งชั้นของคนเป็นสูงต�่ำไม่เสมอกันอยู่แล้ว เช่น เป็นช้ันเจ้านาย ไพร่ ทาส
ในอดตี ยคุ ศกั ดนิ า หรอื เปน็ ชนชน้ั สงู กลาง ตำ�่  แบบสมยั ใหมใ่ นปจั จบุ นั ทกี่ ำ� หนดการดว้ ยฐานะทางเศรษฐกจิ
ผสมกับเกียรติศักดิ์ของอาชีพหรือตามก�ำเนิดชาติตระกูล ที่ยังตกค้างมาจากสังคมแบบเก่าของโบราณ
แบบอยา่ งพฤตกิ รรมหรอื ขนบธรรมเนยี มประเพณที ต่ี า่ งกนั ของชนชนั้ สงู กบั ชนชน้ั ต่�ำในสงั คมไทยสมยั กอ่ น
มสี �ำนวนจ�ำแนกเปน็ “ประเพณหี ลวง” กบั “ประเพณรี าษฎร์” เปน็ ตน้ ในสงั คมไทยสมยั นอ้ี าจใชส้ ำ� นวน
“การกนิ อยขู่ องคนม”ี กบั “การกนิ อยขู่ องคนจน” กไ็ ด้ ซงึ่ ลว้ นแตห่ มายถงึ วฒั นธรรมสองแบบของคนสอง
ระดับตามทปี่ รากฏจรงิ

๓. 	วัฒนธรรมเมืองกับวัฒนธรรมชนบท

       คนในเมืองกับคนในชนบท มีแบบอย่างชีวิตความเป็นอยู่ต่างกันเสมอมาในทุกสังคมของสมัย
โบราณ (แตอ่ าจต่างกันน้อยลงในอนาคต เมื่อสังคมเปลี่ยนจากแบบเกษตรกรรมมาเป็นแบบอตุ สาหกรรม
มากขึ้น)
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51