Page 48 - ไทยศึกษา
P. 48

๑-38 ไทยศึกษา

                          ภาพที่ ๑.๒ เครื่องใช้แบบประเพณีของชนชั้นสูง

๔. 	วัฒนธรรมส่วนกลางกับวัฒนธรรมส่วนภูมิภาค

       ในสมยั กอ่ น การสอื่ สารคมนาคมระหวา่ งเมอื งหลวงสว่ นกลางกบั หวั เมอื งสว่ นภมู ภิ าคยงั ไมส่ ะดวก
อยา่ งในปจั จบุ นั เรอื่ งราวหลกั ฐานสว่ นใหญเ่ กย่ี วกบั สงั คมและวฒั นธรรมไทยมกั จะอาศยั เอกสารขอ้ มลู ของ
คนเมอื งหลวงเปน็ สำ� คญั เพราะมอี ยแู่ ละรกู้ นั แพรห่ ลายกวา่ เรอ่ื งราวของคนในทอ้ งถนิ่ ภมู ภิ าค ทำ� ใหก้ ารบรรยาย
ลักษณะวัฒนธรรมไทยเป็นการบอกเล่าแบบอย่างชีวิตของคนเมืองหลวงและภาคกลาง (ซ่ึงเป็นที่ต้ังของ
เมอื งหลวง) มากกวา่ ของคนไทยในภาคอน่ื ๆ

       เพราะความทเี่ รอ่ื งราวของภาคกลางและเมอื งหลวงเปน็ ทค่ี นุ้ เคยของผรู้ ผู้ เู้ รยี นในแวดวงของศนู ย-์
กลางการศกึ ษาและการบริหารปกครองประเทศมากกวา่ ภาคอ่นื และคงเพราะติดความคิดว่าเมืองหลวงมี
ความส�ำคัญและศักด์ิศรีในหัวเมืองซึ่งอยู่ใต้ปกครอง วัฒนธรรมของคนไทยในเมืองหลวงและภาคกลางจึง
ถูกเสนอเป็นเสมอื นตวั แทนของวัฒนธรรมไทยทั้งหมดของประเทศ หากตอ้ งเอย่ ถงึ วัฒนธรรมทอ้ งถ่ินของ
ภูมิภาคอ่ืนๆ เช่น วัฒนธรรมล้านนาของภาคเหนือ วัฒนธรรมภาคอีสาน (ซ่ึงมีความคล้ายคลึงในหลาย
เรอื่ งกบั วฒั นธรรมลาวขา้ มฝง่ั แมน่ ำ้� โขง ซง่ึ อยใู่ นเครอื วฒั นธรรมของกลมุ่ คน “ไต” ดว้ ยกนั ) หรอื วฒั นธรรม
ภาคใต้ ก็จะพูดเสมือนเป็นวัฒนธรรมย่อยท่ีเป็นส่วนเสริมหรือส่วนท่ีแผกเพี้ยนไปจากวัฒนธรรมหลักของ
เมอื งหลวงและชนชน้ั เจ้านายผปู้ กครอง

       ในสมัยหลังเมื่อมีการติดต่อส่ือสารกันสะดวกข้ึนและคนจากเมืองหลวงท่ีเดินทางไปมาในภูมิภาค
มไิ ดม้ แี ตข่ า้ ราชการทไี่ ปเปน็ ผบู้ รหิ ารปกครองหวั เมอื งเทา่ นน้ั และคนจากภมู ภิ าคไมไ่ ดเ้ ขา้ มาเมอื งหลวงใน
ฐานะไพรท่ าสทเี่ ขา้ มารบั ใชเ้ จา้ นายในเมอื งอกี ตอ่ ไป (ถงึ แมอ้ าจจะมาเปน็ ลกู จา้ งแรงงานกต็ าม) การเดนิ ทาง
ไปค้าขายประกอบอาชพี หรอื ท่องเทย่ี วทศั นศึกษา ฯลฯ ของคนจากภาคหน่ึงไปยงั อีกภาคหน่ึง ในฐานะ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53