Page 52 - ไทยศึกษา
P. 52
๑-42 ไทยศึกษา
ขอ้ สงั เกตในการปฏบิ ตั ทิ นี่ ยิ มกนั ขณะนี้ ไมย่ ากระบเุ ปน็ วฒั นธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธย์ุ อ่ ยทตี่ า่ งไป
จากกลุ่มชาติพันธุ์ไทย มักบรรยายไว้เสมือนเป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นหรือพ้ืนบ้านไทย ปล่อยให้ผู้สนใจ
แยกแยะกนั เองในรายละเอยี ดทางชาตพิ ันธ์ุวิทยา ตามหลักวิชาการและความเหมาะสม เชน่ การแสดงรำ�
พ้ืนเมืองของจังหวัดสุรินทร์มีกันตรึม เรือมอันเร เรือมอายัย ฯลฯ ซ่ึงเป็นศิลปะของคนไทยเช้ือสายเขมร
หรอื การแสดงระบำ� รองเงง็ หรอื การตอ่ สปู้ อ้ งกนั ตวั ทเี่ รยี ก “สลิ ะ” ของคนไทยเชอื้ สายมลายู ในทำ� นองเดยี ว
กับการละเล่นร้องร�ำของชาวเขาเผ่าต่างๆ ในภาคเหนือ ท่ีบางคร้ังรวมเรียกว่า “ชาวไทยภูเขา” เท่ากับ
รวมเอาวฒั นธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธย์ุ อ่ ยตา่ งๆ นี้ เขา้ อยใู่ นวฒั นธรรมไทยปจั จบุ นั ดว้ ยกนั หมด ตามหลกั การ
ของสังคมระดับประเทศชาตสิ มัยใหม่
กิจกรรม ๑.๒.๓
ถา้ “วัฒนธรรม” หมายถงึ แบบอยา่ งการด�ำรงชีวิตของสงั คม ทา่ นคิดว่า “วัฒนธรรมเมอื ง” กบั
“วฒั นธรรมชนบท” ของไทยแตกตา่ งกนั มาตงั้ แตเ่ มอ่ื ไร แลว้ ทำ� ไมจงึ ตอ้ งไมเ่ หมอื นกนั ยกตวั อยา่ งประกอบ
แนวตอบกิจกรรม ๑.๒.๓
วฒั นธรรมเมอื ง ปรากฏเมือ่ มเี มอื ง และทันทที ี่มีบริเวณซ่ึงอยู่นอกเมอื ง กไ็ ด้ชือ่ วา่ เป็นชนบท ใน
ประวตั ศิ าสตรข์ องไทย ถา้ ยนื ยนั ไดว้ า่ มหี ลกั ฐานของเมอื งตง้ั แตเ่ มอ่ื ไร วฒั นธรรมสองแบบกม็ มี าตงั้ แตเ่ มอ่ื นนั้
เหตุท่ีไม่เหมือนกันเพราะคนอยู่ในเมืองมักเป็นผู้ปกครองกับบริวารท่ีต้องการแสดงความส�ำคัญ
ของหนา้ ท่แี ละฐานะของตนใหแ้ ตกต่างจากผู้ถกู ปกครอง ด้วยสงิ่ ของเครอ่ื งใช้และกริ ิยามารยาท ฯลฯ ซึ่ง
รวมเปน็ แบบอยา่ งการด�ำเนินชีวิตท่ไี ม่เหมอื นกนั
เมอื งในสมยั หลงั ตอ่ มา อาจเปน็ เมอื งการคา้ และอตุ สาหกรรมแบบสมยั ใหม่ ทขี่ ายสนิ คา้ และบรกิ าร
แพร่หลายไปให้คนชนบทมีใช้และเรียนแบบอย่างชาวเมืองมากขึ้น จนมีความแตกต่างกันน้อยลงๆ ตาม
ลำ� ดบั หรือนคิ มอตุ สาหกรรมเขตชนบทมาเปน็ เขตเมอื งใหม่