Page 56 - ไทยศึกษา
P. 56
๑-46 ไทยศกึ ษา
เพยี งแตเ่ ปรยี บเทยี บตัวเลขจํานวนรวมของประชากร เม่ือ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๔ ตามรายงาน
การสํารวจ สํามะโนครัวของกระทรวงมหาดไทย ประเทศไทยมีพลเมือง ๘,๒๖๖,๔๐๘ คน และเมื่อ ๑
เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓ ตามรายงานการสํารวจสํามะโนประชากรและเคหะของสํานักงานสถิติแห่งชาติ
สํานกั นายกรัฐมนตรี มีพลเมอื ง ๔๔,๘๒๔,๕๔๔ คน จาํ นวนคนท่ีเพม่ิ ขน้ึ ประมาณ ๕ เทา่ ตัวภายในเวลา
๗๐ ปี โดยเนอ้ื ทแี่ ละอาณาเขตของประเทศไมไ่ ดเ้ ปลยี่ นแปลง ยอ่ มหมายความวา่ ถา้ สมาชกิ ของสงั คมไทย
ทกุ คนมที ดี่ ินอยู่อาศยั ทํากิน คดิ เฉล่ยี แล้วแตล่ ะคนจะตอ้ งไดท้ ดี่ ินทําประโยชน์น้อยลง หรือถ้าในสมยั ก่อน
มคี นนอ้ ยกเ็ หลอื ท่เี ปน็ ปา่ มาก สมัยน้มี ีคนมากก็คงตอ้ งถางปา่ ลงจนเหลอื น้อย เปน็ ต้น
ตัวเลขทบ่ี อกจํานวนคนในสังคมประเทศไทยน้ี ไม่มีหลกั ฐานครบถว้ น ท่สี าํ รวจรวบรวมกันไวใ้ น
อดีตและตกมาถึงคนรุ่นหลังให้ได้รู้และศึกษากัน แต่อย่างน้อยบัญชีไพร่ทาสท่ีมูลนายสมัยก่อนมีอยู่ใน
กํากับของตน กน็ า่ จะพออาศยั ใช้แทนสาํ มะโนประชากรได้ ถึงมแี ตบ่ ญั ชพี ลเมืองชายก็อาจสันนิษฐานเพิ่ม
จํานวนลูกเมียในแต่ละครอบครัวพอให้ได้เค้าจํานวนรวมได้ ที่แล้วมาไม่ปรากฏว่ามีหลักฐานเร่ืองนี้ที่
นกั ประวตั ศิ าสตรร์ ายงานไว้ (นอกจากทว่ี า่ มบี นั ทกึ ของชาวตา่ งประเทศประมาณการกนั ไวบ้ า้ ง) แตถ่ งึ ไมม่ ี
หลกั ฐานแสดงไว้ กเ็ ขา้ ใจและรบั กนั ไดใ้ นหลกั การวา่ จาํ นวนของประชากรมคี วามสาํ คญั ตอ่ ความมน่ั คงของ
บ้านเมือง เพราะกาํ ลงั คนชว่ ยสรา้ งทรพั ยากร สิ่งอปุ โภคบรโิ ภคในยามบ้านเมอื งสงบ และเป็นพลงั รุกราน
หรือต่อต้านข้าศึกในยามสงคราม การมีผู้คนเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภารของกษัตริย์ในยามสงบ หรือ
การกวาดตอ้ นเชลยเพอ่ื บน่ั ทอนกาํ ลงั บา้ นเมอื งทแี่ พส้ งคราม ยอ่ มลว้ นแตม่ สี ว่ นสรา้ งความมนั่ คงและผาสกุ
ให้แก่ประเทศเสมอ
แต่จํานวนของพลเมืองที่มีมากจะเป็นพลังหรือเป็นภาระ ย่อมขึ้นอยู่กับเง่ือนไขอื่นๆ ด้วย เช่น
๑) ส่วนใหญ่เป็นชายและหญิงวัยฉกรรจ์ หรือมีแต่เด็กกับคนชรา ๒) พลเมืองมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง
สตปิ ญั ญาเฉยี บแหลม หรอื มแี ตค่ นออ่ นแอและโง่เขลา ๓) บ้านเมืองมวี ธิ กี ารสร้างเสรมิ คณุ ภาพทีต่ อ้ งการ
แกพ่ ลเมอื งอยา่ งไร ๔) มที รพั ยากรพอเลย้ี งดกู นั ไดท้ ว่ั ถงึ หรอื ไม่ ๕) มหี ลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารจดั การควบคมุ
แรงงานใหท้ ํากิจการเป็นประโยชนเ์ ต็มท่ีแกส่ ังคมหรอื ไม่ และ ๖) พลเมืองเหล่านี้มีการกระทาํ สมั พนั ธ์กัน
ราบร่นื สมานฉันทอ์ ยูก่ ันเป็นปกตสิ ขุ เสนอสนองประโยชน์กันหรือไม่ ฯลฯ
สํามะโนประชากรสมัยปัจจุบัน นอกจากจะจําแนกประชากรด้วยเพศและอายุแล้ว ยังแบ่งเป็น
ประเภทอาชีพต่างๆ พอให้เห็นประเภทการงานท่ีสมาชิกของสังคม กระทําเก่ียวข้องกัน ถึงแม้ลักษณะ
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาชีพประเภทต่างๆ จะไม่ปรากฏให้เห็นได้ในตัวเลขสถิติเหล่านั้นก็ตาม แต่
ประเภทกลมุ่ อาชพี ในขอ้ มลู จากสาํ มะโนประชากรกเ็ ปน็ เพยี งประเภทกวา้ งๆ ไมบ่ อกละเอยี ด ผทู้ ส่ี นใจตอ้ ง
ศกึ ษาหาขอ้ เทจ็ จริงเพ่มิ เติม
ประเภทของบุคคลต่างๆ ในสังคมไทยสมัยโบราณ มีปรากฏอยู่บ้างในจารึก พงศาวดาร และ
ตัวบทกฎหมาย เช่น ศิลาจารึกสุโขทัยกล่าวถึงชนชั้นผู้บริหารปกครองเป็น “ขุน” “พระ” “เจ้าเมือง”
“ลกู เจ้าลูกขุน” ฯลฯ ชนช้ันใต้ปกครองเปน็ “ไพร่ฟา้ หนา้ ใส” ไพร่ฟ้าขา้ ไท” “ไพรฟ่ า้ หน้าปก” ฯลฯ และ
มีบุคคลประเภทพระสงฆ์เป็น “ปู่คร”ู “เถรมหาเถร” และชาวบ้านผูร้ ักษาศีลเปน็ “อบุ าสก” นอกนนั้ ยัง
กล่าวถงึ “ทา้ ว” “พระยา” “คร”ู “อาจารย์” ด้วยเปน็ ต้น ในศลิ าจารกึ ยังมีขอ้ ความบรรยายความสมั พนั ธ์